Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจินตนา ยังจีน, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-16T07:51:24Z-
dc.date.available2024-01-16T07:51:24Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11112-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E ผนวกกลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์กับเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 75 และ (2) เปรียบเทียบจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E ผนวกกลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างก่อนและหลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลังการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E ผนวกกลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์เทียบเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7E ผนวกกลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยการสืบเสาะหาความรู้ 7E ผนวกกลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โปรแกรมวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนในสหวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เขต 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of the 7E inquiry learning management together with science teaching strategies on science learning achievement in the topic of Digestion System and Cellular Respiration and Scientific Mind of Mathayom Suksa IV students in the science program of Schools in Surat Thani Consortium 2 of Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare against the 75 percent criterion the post-learning achievement in the topic of Digestion System and Cellular Respiration of Mathayom Suksa IV students who learned under the 7E inquiry learning management together with science teaching strategies; and (2) to compare the pre-learning and post-learning scores on scientific mind of the students who learned under the 7E inquiry learning management together with science teaching strategies. The research sample consisted of 32 Mathayom Suksa IV students in the first semester of the 2018 academic year at Tha Chana School in Surat Thani Province, obtained by cluster random sampling. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the post-learning achievement of students learning under the 7E inquiry learning management together with science teaching strategies in the topic of Digestion System and Cellular Respiration was higher than the 75 percent criterion at the .05 level of significance; and (2) the post-learning scores on scientific mind of the students who learned under the 7E inquiry learning management together with science teaching strategies were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level of significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons