Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11123
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | เยาวณีย์ พานธุวงศ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-17T04:05:13Z | - |
dc.date.available | 2024-01-17T04:05:13Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11123 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร ของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความเป็น กัลยาณมิตรและ กลุ่มควบคุมที่ได้ใช้กิจกรรมแนะแนวอื่นๆ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมความเป็น กัลยาณมิตรของนักเรียนกลุ่มทดลองที่มีการอบรมเลี้ยงดูต่างกัน และ (3) เปรียบเทียบพฤติกรรม ความเป็นกัลยาณมิตรของนักเรียนกลุ่มทดลองที่มีภูมิหลังทางชีวสังคมต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอ่างศิลา จังหวัดอุบลราชธานี ปีการศึกษา 2553 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม 2 ห้องเรียน จำนวน 60 คน สุ่มเข้ากลุ่ม 2 กลุ่ม แล้วสุ่มเพื่อกำหนดเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ได้กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) แบบวัดพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร มีค่าความ เที่ยง เท่ากับ .84 (2) แบบวัดการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .79 และ (3) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร จำนวน 11 กิจกรรม และ (4) กิจกรรมแนะแนวอื่นๆจำนวน 11 กิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรม ความเป็นกัลยาณมิตร มีพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตรสูงกว่านักเรียนที่ได้ใช้กิจกรรมแนะแนว อื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดู ของครอบครัวแบบรักสนับสนุนและแบบใช้เหตุผลมาก เมื่อได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา พฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร มีพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตรสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการ อบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวแบบรักสนับสนุนและแบบใช้เหตุผลน้อย และ (3) นักเรียนกลุ่มทดลอง ที่มีเพศ ผลการเรียนเฉลี่ย และรายได้ของครอบครัวต่างกัน มีพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร ไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.35 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมความเป็นกัลยาณมิตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอ่างศิลา จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using a guidance activities package to develop amicable behaviors of Mathayom Suksa II Students of Angsila School in Ubon Ratchathani Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2010.35 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to (1) compare amicable behaviors of experimental group students who used a guidance activities package to develop amicable behaviors with that of the control group students who used other guidance activities; (2) compare amicable behaviors of experimental group students who were brought up under different patterns of child rearing; and (3) compare amicable behaviors of experimental group students with different bio-social backgrounds. The research sample consisted of 60 Mathayom Suksa II students in two intact classrooms of Ang Sila School, Ubon Ratchathani province in the 2010 academic year, obtained by cluster sampling. They were then randomly assigned into two groups each of which consisted of 30 students. After that one of the two groups was randomly assigned as the experimental group; the other group, the control group. The employed research instruments consisted of (1) a scale to assess amicable behaviors with reliability coefficient of .84; (2) a scale to assess the family's pattern of child rearing with reliability coefficient of .79; (3) a guidance activities package to develop amicable behaviors comprising 11 activities; and (4) 11 other guidance activities. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, analysis of variance, t-test, and two-way analysis of variance. Research findings revealed that (1) the students using the guidance activities package to develop amicable behaviors exhibited amicable behaviors at the significantly higher level than the counterpart behaviors of those using other guidance activities at the .01 level; (2) the experimental group students who were brought up in the family under the loving and supporting pattern of child rearing with high level of reasoning usage exhibited amicable behaviors at the significantly higher level than the counterpart behaviors of those who were brought up in the family under the loving and supporting pattern of child rearing with low level of reasoning usage; and (3) the experimental group students with different genders, grade point averages, and family monthly incomes did not significantly differ in their exhibited amicable behaviors | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License