Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorญาณิศา มิตรเอม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-17T06:24:01Z-
dc.date.available2024-01-17T06:24:01Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11124-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่พัฒนาขึ้นนั้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา แพร่ เขต 1 จำนวน 368 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สถิติที่ใช้ ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือได้แก่ดัชนีความสอดคล้อง ความยาก อำนาจจำแนก สัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1 ที่พัฒนาขึ้นมีจำนวน 10 ข้อ เป็นแบบเขียนตอบ และมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค 4 ระดับคือ 3 2 1 และ 0 และ (2) แบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนมีความตรงเชิงเนื้อหาโดยค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง .80 - 1.00 มีค่าความยาก ระหว่าง .37 -. 65 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง .45 -. 66 ความตรง เชิงโครงสร้างใช้เทคนิคกลุ่มรู้ชัด มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .64th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.11-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการอ่าน--การประเมินth_TH
dc.subjectการเขียน--การประเมินth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด--การประเมินth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe development of an evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills of Prathom Suksa III students under the Office of Phrae Educational Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.11-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop an evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills of Prathom Suksa III students under the Office of Phrae Educational Service Area 1; and (2) verify the quality of the developed evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills. The research sample consisted of 368 Prathom Suksa III students obtained by stratified random sampling from schools under the Office of Phrae Educational Service Area 1. The employed research instrument was an evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills of Prathom Suksa III students. The employed statistics for quality verification of the instrument were the index of item-objective congruence (IOC), difficulty index (P), discrimination index (r), Pearson correlation coefficient, and t-test. Research findings revealed that (1) the developed evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills of Prathom Suksa III students under the Office of Phrae Educational Service Area 1 was an essay type test consisting of 10 items, with four levels rubric scoring: 3, 2, 1, and 0; and (2) the evaluation form for assessment of reading, analytical thinking and writing skills had content validity as shown by the IOCs ranging from .80-1.00; its difficulty indices ranged from .37 - .65; its discrimination indices ranged from .45 - .66; it had construct validity as verified by the known-group technique which showed significant difference at the .05 level; and it had reliability coefficient of .64en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.77 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons