Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมบัติ พันธวิศิษฏ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมพล จตุพร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณรัช เผ่าหฤหรรษ์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T02:42:15Z-
dc.date.available2024-01-18T02:42:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11127-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินทั่วไปและปัญหาความเสื่อมโทรมจากการท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษา 2) ประเมินค่าความเต็มใจที่จะจ่ายและมูลค่าภายใต้ตลาดสมมุติคิดเป็นมูลค่าการใช้ทางตรง 3) เสนอแนะแนวทางการจัดการโดยเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อย่างยั่งยืน วิธีการศึกษาใช้การเก็บข้อมูลปฐมภูมิโดยใช้แบบสอบถามปลายปิดแบบสองครั้ง กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ตัวอย่างด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบโดยใช้ตัวแบบจำลองโลจิทเพื่อหาค่าความเต็มใจที่จะจ่ายและมูลค่าตลาดสมมุติดำเนินการวิเคราะห์เพื่อหาราคาของความเต็มใจจ่ายและมูลค่าการใช้ทางตรง ผลการศึกษาพบว่า 1) พื้นที่ศึกษามีปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอันเป็นผลจากการใช้ประโยชน์เกินกว่าศักยภาพของทรัพยากรที่จะรองรับได้ 2) ค่าความเต็มใจที่จะจ่ายของอุทยานแห่งชาติที่ศึกษามีค่ามากกว่าค่าธรรมเนียมปัจจุบันทุกแห่งโดยค่าความเต็มใจที่จะจ่ายของอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา หมู่เกาะสิมิลันและหมู่เกาะสุรินทร์ มีค่า 640.37, 775.42 และ 1403.889 บาท ตามลำดับและพบว่าค่าความเต็มใจจ่ายมีความสัมพันธ์กับระยะทางในการเดินทางจากเมืองค่าความเต็มใจที่จะจ่ายของชาวต่างชาติมีมากกว่านักท่องเที่ยวชาวไทยประมาณ 1.9 เท่าการเก็บค่าธรรมเนียมการเข้าใช้อุทยานในปัจจุบันยังไม่เหมาะสมและมูลค่าการใช้ทางตรงในปัจจุบันของอุทยานที่ศึกษาเท่ากับ 309,184,060 บาท 3) ในการจัดการพื้นที่อุทยานควรปรับปรุงค่าธรรมเนียมในการเข้าใช้อุทยานให้สอดคล้องกับค่าความเต็มใจจ่ายและการจัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความเต็มใจจ่ายth_TH
dc.subjectนักท่องเที่ยว--ทัศนคติth_TH
dc.titleการศึกษาค่าความเต็มใจที่จะจ่ายของนักท่องเที่ยวเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศชายฝั่งทะเลอันดามันth_TH
dc.title.alternativeThe willingness to pay of tourist for Andaman coastal ecosystems restorationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research has objectives as following 1) to assess the current situations and deterioration problems from tourism in the research areas 2) to evaluate the willingness to pay and values under the contingent market which evaluated as a direct use 3) to suggest management guidelines by using environmental economic tools for having the sustainable tourism. The research method was conducted from the primary data surveys on 400 population samples by Systematic Sampling Method and processed in Logit Model with Double Bound Close- Ended Questions to analyze the willingness to pay and contingent values finding the result of the optimal rate and the direct use values. The research results found that 1) there was deterioration of natural resources and the environment in research areas because of the overusing benefits of resources more than its attainable capability. 2) The willingness to pay off the researched national parks was more than the present entrance fees in every national park. Phang Nga Bay, Similan islands and Surin islands national park had the willingness to pay at 640.37, 775.42 and 1403.889 consequently. The research results either found that the distance from town to reach each national parks had a relationship with the willingness to pay. The willingness to pay of foreign tourists was more than Thai tourists about 1.9 times. Consequently, the current entrance fees were not the optimal rate and the result of a willingness to pay showed the non-optimal of the entrance fees. The direct use values of researched national parks were at 309,184,060 baht. 3) There should have entrance fees adjustment to conform with the willingness to pay for the national park fees and have the establishment of environmental funds for the management of national park areas for sustainability usageen_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons