Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11130
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพชรผ่อง มยูขโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | พิทยา คงอิ้ว, 2522- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-18T03:10:58Z | - |
dc.date.available | 2024-01-18T03:10:58Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11130 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาเกษตรศาสตร์ ก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของเดวีส์ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือ (2) เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติงานไฟฟ้าเพื่อการเกษตร ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาเกษตรศาสตร์ หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของเดวีส์ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาเกษตรศาสตร์หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของเดวีส์ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 17 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชางานไฟฟ้าเพื่อการเกษตร โดยวิธีสอนรูปแบบการเรียนการสอนของเดวีส์ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแบบประเมินผลทักษะการปฏิบัติงาน และแบบประเมินความพึ่งพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาเกษตรศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางที่ระดับ .05 (2) นักเรียนมีคะแนนทักษะการปฏิบัติงานไฟฟ้าเพื่อการเกษตร หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของเดรีส์ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือโดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเดวีส์ร่วมกับการสอนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการปฏิบัติงานไฟฟ้าเพื่อการเกษตรของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาเกษตรศาสตร์วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี (ภาคใต้) | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of Davies instructional activities management together with cooperative learning on learning achievement and electrical work performance skills for agriculture of students in Vocational Certificate Program in Agriculture of the Southern College of Agriculture and Technology | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to compare learning achievements of students in the Vocational Certificate Program in Agriculture before and after learning under Davies instructional activities management together with cooperative learning; (2) to compare against the 70 percent criterion the post-learning electrical work performance skills for agriculture of students in the Vocational Certificate Program in Agriculture who learned under Davies instructional activities management together with cooperative learning; and (3) to study the satisfaction of students in the Vocational Certificate Program in Agriculture after learning under Davies instructional activities management together with cooperative learning. The research sample consisted of 17 students in the Vocational Certificate Program in Agriculture of Phatthalung College of Agriculture and Technology during the second semester of academic year 2018, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were learning management plans in the Electrical Work for Agriculture Course for the instruction using Davies instructional activities management together with cooperative learning, a learning achievement test for pretesting and post-testing, a scale to assess work performance skills, and a scale to assess the satisfaction of students in the Vocational Certificate Program in Agriculture. Statistics employed in data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) the post-learning achievement of the students was significantly higher than their pre-learning achievement at the .05 level of statistical significance; (2) the post-learning electrical work performance skills for agriculture of the students was significantly higher than the 70 percent criterion at the .05 level of statistical significance; and (3) students were satisfied with learning under Davies instructional activities management together with cooperative learning at the high level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จรีลักษณ์ รัตนาพันธ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License