Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชุลีกร ฟูฟุ้ง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T06:50:51Z-
dc.date.available2024-01-18T06:50:51Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11142-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้าง สมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา สำหรับครูที่ปรึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนพิชญศึกษา จังหวัดนนทบุรี (2) ศึกษาผลของการใช้ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพ การเป็นครูที่ปรึกษา สำหรับครูที่ปรึกษา และ(3) ศึกษาความคิดเห็นของครูที่ปรึกษาที่มีต่อชุด ฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา สำหรับครูที่ปรึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นครูโรงเรียนพิชญศึกษา จำนวน 12 คน ซึ่งได้มาโดยความ สมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้าง สมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา (2) แบบวัดสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา และ(3) แบบสอบถาม ความคิดเห็นที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมาย ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครู ที่ปรึกษา สำหรับครูที่ปรึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนพิชญศึกษา จังหวัดนนทบุรี มีค่าดรรชนีความสอดคล้องที่ 0.93 และมีค่าดรรชนีความสอดคล้องของแบบวัดสมรรถภาพการเป็นครู ที่ปรึกษาทั้ง 4 ด้านที่ 0.97 (2) สมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษาหลังการใช้ชุดฝึกอบรม สูงกว่า ก่อนการใช้ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความคิดเห็นของครูที่ปรึกษาที่มีต่อชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อ เสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา โดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดทุกรายการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.38-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectครูแนะแนว--การฝึกอบรมth_TH
dc.subjectครูแนะแนว--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดฝึกอบรมทางการแนะแนวเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการเป็นครูที่ปรึกษา สำหรับครูที่ปรึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนพิชญศึกษา จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effof using training package of guidance to enhance student advisor competencies for teachers in grade four to six in Pichayasuksa schook in Nonthaburi provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.38-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) develop a guidance training package to enhance student advisor competencies for Prathom Suksa IV-VI advising teachers of Pichaya Suksa School in Nonthaburi province; (2) study the effects of the guidance training package to enhance student advising competencies for advising teachers and (3) study the opinions of advising teachers toward the guidance training package to enhance student advisor competencies for advising teachers. The sample consists of 12 teachers of Pichaya Suksa School who were volunteers. The employed research instruments were (1) the guidance training package to enhance student advising competencies for teachers; (2) a student advising competencies assessment scale; and (3) a questionnaire to assess the teachers's opinions toward the guidance training package. The statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, and sign test. The findings of this study were (1) the guidance training package to enhance student advising competencies for Prathom Suksa IV-VI advising teachers of Pichaya Suksa School in Nonthaburi province had the index of concordance of 0.93; and the index of concordance of all four components of the student competencies assessment scale was 0.97; (2) the post-experiment student advising competencies fo advising teachers in were significantly higher, at the .01 level, than their pre-experiment counterparts; and (3) the advising teachers' had opinions that the guidance training package to enhance student advisor competencies for advising teachers was highly appropriate in all itemsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons