Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันตรี ตุลยธำรง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-18T07:14:49Z-
dc.date.available2024-01-18T07:14:49Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพงานแนะแนวระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 การดำเนินการวิจัยโดย (1) กำหนดกรอบการศึกษาและสร้างเครื่องมือ (2) นำเครื่องมือ คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย สภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังการประกันคุณภาพงานแนะแนว ไปสอบถามกับผู้บริหาร 10 คน ครูแนะแนว 30 คน และนักเรียน 390 คน นำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพงานแนะแนว และให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่านรับรองรูปแบบฯ ผลการวิจัย พบว่า (1) ข้อมูลสภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังของผู้บริหาร มาตรฐาน ด้านปัจจัย และมาตรฐานด้านกระบวนการ ระดับความคิดเห็นแปลผลระดับมากและมากที่สุด (X =3.68 : 4.86; X = 3.48 : 4.81) (2) ข้อมูลสภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังของครูแนะแนว มาตรฐานด้านปัจจัย และมาตรฐานด้านกระบวนการ ระดับความคิดเห็นแปลผลระดับมากและมาก ที่สุด ( =4.10 :4.80; X =3.95 : 4.72) (3) ข้อมูลสภาพที่เป็นจริงและความคาดหวังของผู้เรียน มาตรฐานด้านผู้เรียน ระดับความคิดเห็นแปลผลระดับมากและมาก (X =3.95 : 4.44) และ (4) ข้อมูลความคาดหวังของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับความคาดหวังมากกว่าสภาพที่เป็นจริง ทุกมาตรฐาน ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สู่แนวคิดกระบวนการ PDCA ของเดมมิ่งในการ ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพงานแนะแนว ได้รูปแบบเชิงระบบ ดังนี้ ตัวป้อน คือ มาตรฐานด้าน ปัจจัย กระบวนการ คือ มาตรฐานด้านกระบวนการ และผลลัพธ์ คือ มาตรฐานด้านผู้เรียน ซึ่ง ผู้ทรงคุณวุฒิได้พิจารณาให้ข้อเสนอแนะและรับรองรูปแบบฯ ว่าเป็นรูปแบบที่สามารถนำไปใช้กับ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเอกชน เขตพื้นที่การศึกษานนทบุรีเขต 2 ได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.9-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวการศึกษา--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการประกันคุณภาพงานแนะแนวระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe development of a guidance quality assurance model for lower secondary school level of private schools under the Office of Nonthaburi Educational Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.9-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop a guidance quality assurance model for lower secondary school level of private schools under the Office of Nonthaburi Educational Service Area 2. The research process included (1) determination of the study framework and development of research instruments; and (2) the developed questionnaires were employed to collect research data from 10 administrators, 30 guidance teachers and 390 students. After that, the obtained research data were analyzed to develop the guidance quality assurance model and then the model was submitted to three experts for model certification. Research findings were as follows: (1) the data on opinions of administrators concerning the actual and expected conditions of the input and process standards were analyzed and interpreted to be at the high and highest levels respectively (x=3.68 :4.86; and x=3.48:4.81); (2) the data on opinions of guidance teachers concerning the actual and expected conditions of the input and process standards were analyzed and interpreted to be at the high and high level respectively (x=4.10: 4.80; and x =3.95 : 4.72); (3) the data on opinions of the students concerning the actual and expected conditions of the learner standards were analyzed and interpreted to be at the high and high level respectively (x =3.95: 4.44); and (4) the rating means for the expected conditions of questionnaire respondents were higher than their counterpart means for the actual conditions in every standard. The researcher took the obtained data for analysis based on Demming's concept of PDCA process in order to control and verify the guidance work quality. The obtained systems approach model comprised the input factor inclusive of the input standards, the process factor inclusive of the process standards, and the output factor inclusive of the learner standards. The experts had considered and provided recommendations for improvement, and after that had certified that the model was appropriate for uses with students at the lower secondary level of private schools in Nonthaburi Educational Service Area 2en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons