Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1114
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวภา ปิ่นทุพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วัฒนา แป้นน้อย, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T03:29:17Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T03:29:17Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1114 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2547 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนื้มีวัตถประสงค์เพื่อ (1) จำแนกความต้องการในการศึกษาต่อเพื่องของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล (2) สำรวจความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล เกี่ยวกับรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องระดับปริญญาตรีขึ้นไป ในด้านวิธีการจัดการศึกษาเนื้อหาหลักสูตร สถาบันผู้จัดการศึกษาคุณสมบัติของผู้ศึกษาและวิธีการคัดเลือกผู้เข้าศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล จำนวน 337 คน ซึ่งที่ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งเป็นกลุ่ม จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขซึ่งปฏิบัติงานอยู่ที่สถานีอนามัยต่างๆ ของจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง ภูเก็ต พังงา กระบี่ และนครศรีธรรมราช เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า Chi Square และค่า Correlation ผลการวิจัยพบว่า (1) เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลต้องการศึกษาต่อปริญญาโท ร้อยละ 46.6 ปริญญาตรีร้อยละ 24.6 (2) ผู้ต้องการศึกษาต่อเห็นด้วยกับวิธีจัดการศึกษาเรียงตามลำดับคือการศึกษาภาคพิเศษนอกเวลาราชการ/เสาร์ อาทิตย์ การศึกษาระบบทางไกล การศึกษาควบคู่กับการปฏิบัติงานและการศึกษาภาคปกติ เห็นด้วยกับเนื้อหาหลักสูตรเรียงตามลำดับคือการบริการสุขภาพการบริหารจัดการการปฏิสัมพันธ์มนุษย์/มวลชนและวิชาการ เห็นด้วยกับสถาบันผู้จัดการศึกษาเรียงตามลำดับคือสถาบันในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข มหาวิทยาลัยปิดภาครัฐ มหาวิทยาลัยเปิดภาครัฐ และสถาบันการศึกษาเอกชน เห็นด้วยกับคุณสมบัติของผู้ศึกษาเรียงตามลำดับคือวุฒิการศึกษาเดิมประสบการณ์ทำงานตำแหน่งหน้าที่ ระยะเวลาปฏิบัติงาน ผลการศึกษาเดิม ความรู้ภาษาอังกฤษ และความสามารถพิเศษ เห็นด้วยกับวิธีคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา เรียงตามลำดับคือ การพิจารณาตามความต้องการของหน่วยงาน การสอบข้อเขียน การพิจารณาจากประสบการณ์ทำงาน การสอบสัมภาษณ์ และการพิจารณาจากผลการศึกษาเดิม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2004.251 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เจ้าหน้าที่สาธารณสุข--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.subject | การศึกษาต่อเนื่อง--ไทย (ภาคใต้) | th_TH |
dc.title | ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลในเขตภาคใต้ตอนบนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องด้านสุขภาพระดับปริญญาตรีขึ้นไป | th_TH |
dc.title.alternative | Opinions of sub-district public health personnel of the upper southern region about management model of higher education on bachelor and master of health | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2004.251 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study were to (1) segregate the need in continuing study of health personnel who worked in sub-district level. (2) survey the opinion of health personnel toward the pattern of continuing study in bachelor degree and higher level regarding study management, contents, institutes, requirements, and methods of recruitment. Study sample were 337 health personnel who worked in health centre located in Chumphom, Suratthani, Ranong, Phuket, Pang-Nga, Krabi, and Nakhornsrithammarat. Study instrument was questionnaire with verified reliability at 0.93. Percentage, arithmetic mean, standard deviation, Chi-squared-test, and correlation were presented for data analysis. The results were found that health personnel needed to study in master degree 46.6 % and bachelor degree 24.6 %. (2) Health personnel who needed to study agreed to the patterns of curriculum: out time curriculum, weekend curriculum, distance curriculum, studying at the workplace curriculum, and ordinary curriculum, respectively. They agreed to the contents: health service, administrative management, and mass and academic interaction, respectively. They also agreed to the institutes provided the curriculum, Ministry of Public Health, private closed-university, public opened-university, and private institute, respectively. Moreover, they agreed to the requirements: qualification, Work experience, position, period of work experience, transcript, English skills, and talent, respectively. Lastly, they agreed to methods of recruitment which considered the need of organization, testing, work experience, interviewing, and transcript, respectively | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License