Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11163
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรีชา วิหคโตth_TH
dc.contributor.authorวรนุช เอกจริยกรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T02:29:42Z-
dc.date.available2024-01-19T02:29:42Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11163en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการ เห็นคุณค่าในตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดปากน้ำวิทยาคม (2) เปรียบเทียบ การเห็นคุณค่าในตนเอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดปากน้ำวิทยาคม ระหว่างก่อน และหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง และ (3) ศึกษาความ คิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดปากน้ำ วิทยาคม กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน โดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้ คือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งได้พัฒนาจากวิธีการ เรียนรู้เชิงประสบการณ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ขั้นสะท้อนกลับ การรับรู้ ขั้นสรุปสาระสู่ชีวิต และขั้นคิดและนำไปปฏิบัติ (2) แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.922 และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของ นักเรียน มีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00 (2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนการเห็นคุณค่าใน ตนเองหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวสูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดกิจกรรมแนะแนวอยู่ในระดับเห็นด้วย มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.198en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความภาคภูมิใจในตนเองในเด็กth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดปากน้ำวิทยาคมกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe development of a guidance activities package to enhanc self-esteem of Mathayom Suksa I Students of Wat Paknam Witthayakhom School in Bangkok Meetropolisth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.198-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) develop a guidance activities package to enhance self-esteem of Mathayom Suksa I students of Wat Paknam Witthayakhom School; (2) compare self-esteem of Mathayom Suksa I students of Wat Paknam Witthayakhom School before and after using the guidance activities package to enhance self-esteem; and (3) study opinions of the students toward the guidance activities package to enhance self-esteem. The sample consisted of purposively selected 30 Mathayom Suksa I students of Wat Paknam Witthayakhom School. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to enhance self-esteem which was developed based on the experiential learning process, consisting of 4 steps, namely, experiencing, reflecting, generalizing, and applying; (2) a self-esteem assessment scale with reliability coefficient of 0.922; and (3) a questionnaire on the student's opinions toward the guidance activities package to enhance self-esteem. The statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, and dependent t-test. The findings of this study were (1) the guidance activities package to enhance self-esteem of students had the IOC ranging from 0.80 to 1.00; (2) the self- esteem mean score of students after using the guidance activities package was significantly higher than their counterpart mean score before using the package at the .05 level; and (3) the students had opinions at the most preferable level toward the guidance activities packageen_US
dc.contributor.coadvisorสมร ทองดีth_TH
dc.contributor.coadvisorพันธณีย์ วิหคโตth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons