Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorพยนต์ ง่วนทองth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T03:16:32Z-
dc.date.available2024-01-19T03:16:32Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11172en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างเกณฑ์การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบ คละชั้น และ (2) ตรวจสอบคุณภาพเกณฑ์การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นของโรงเรียน ขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย (1) ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้น จำนวน 19 คน (2) ครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดเล็กที่จัดการเรียนรู้แบบคละชั้นในสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสุพรรณบุรี จำนวน 58 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน พิสัยระหว่าง ควอไทล์ และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) เกณฑ์การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นของโรงเรียน ขนาดเล็กที่สร้างขึ้นมีคุณภาพ จำนวน 60 ข้อ จำแนกเป็น 5 ด้านคือ ด้านการจัดห้องเรียน 12 ข้อ ด้านการวางแผนและเตรียมการจัดการเรียนรู้ 14 ข้อ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 18 ข้อ ด้านสื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9 ข้อ และด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 7 ข้อ และ (2) เกณฑ์ การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นมีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนดทั้งรายข้อและ รายด้านโดยมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 3.50 และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.281en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรีth_TH
dc.subjectการจัดการชั้นเรียนth_TH
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์การประเมินการจัดการเรียนรู้แบบคละชั้นของโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe development of criteria for evaluation of the multi-grade classroom learning management in small schools under the Offices of Suphan Buri Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.281-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) develop the criteria for evaluation of the multi-grade classroom learning management; and (2) verify quality of the developed criteria for evaluation of the multi-grade classroom learning management in small schools under the Offices of Suphan Buri Educational Service Area. learning management; and (2) 58 classroom teachers in small schools organizing multi-grade classroom learning management under the Offices of Suphan Buri Educational Service Area, obtained by multi-stage random sampling. The employed research instrument was a questionnaire. Statistics for data analysis were the frequency, percentage, median, inter-quartile range, and t-test. Research findings showed that (1) the developed criteria for evaluation of the multi-grade classroom learning management small schools had quality and comprised 60 items classified into five aspects as follows: 12 items in the aspect of classroom management, 14 items in the aspect of planning and preparation for learning management, 18 items in the aspect of organizing learning activities, 9 items in the aspect of learning media and learning sources, and 7 items in the aspect of learning measurement and evaluation; and (2) both the aspect-wise and item-wise criteria for evaluation of the multi-grade learning management were appropriate based on the predetermined criteria, with the rating means of more than 3.50 which were significant at the .05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorจันตรี คุปตะวาทินth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons