Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจีรวรรณ สุขหลังสวน, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T03:47:50Z-
dc.date.available2024-01-19T03:47:50Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11180-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ความรู้เดิมในวิทยาศาสตร์ และการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 2) สร้างสมการทำนายการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์จากตัวแปรเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และความรู้เดิมในวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2 จำนวน 138 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบ จำนวน 1 ฉบับ และแบบวัด จำนวน 2 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และความรู้เดิมในวิทยาศาสตร์ มีความสัมพันธ์ทางบวก ต่อการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) สมการทำนายการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์ในรูปคะแนนมาตรฐานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการคิดวิเคราะห์ในวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนสังกัดในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting analytical thinking in science of Prathom Suksa V students of Schools under Chumphon Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study attitude toward science, achievement motivation, background knowledge of science, and analytical thinking in science of Prathom Suksa V students; and (2) to create a predicting equation for analytical thinking in science using attitude toward science, achievement motivation, and background knowledge of science as predicting variables. The subjects of this study were 138 Prathom Suksa V students of schools under Chumphon Primary Education Service Area Office 2, obtained by multi-stage random sampling technique. The instruments used for collecting data included a test and two assessment scales. The data were statistically analyzed with the use of the mean, standard deviation, Pearson product-moment correlation coefficients, and multiple regression analysis. The results showed that (1) attitude toward science, achievement motivation, and background knowledge of science positively correlated with analytical thinking in science at the .01 level of statistical significance; and (2) the predicting equation for analytical thinking in science in the form of standard score was Z’ = -.028ZX1 + .008ZX2 + .412ZX3en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons