Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิริพร จักรอ้อม, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T06:43:39Z-
dc.date.available2024-01-19T06:43:39Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาของแบบบันทึกทางการพยาบาลในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลแม่สาย 2) สร้างรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล และ 3) เปรียบเทียบผลของการใช้รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลก่อนและหลังการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) ระยะศึกษาปัญหา มี 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 17 คน (2) แบบบันทึกทางการพยาบาลด้วยรูปแบบเดิมที่ได้จากการสุ่มแบบมีระบบ จำนวน 87 ชุด 2) ระยะพัฒนา เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานแห่งนี้ จำนวน 5 คนที่ถูกคัดเลือกแบบเจาะจง และ 3) ระยะทดลองใช้ ได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพกลุ่มเดียวกับระยะศึกษาปัญหา และ (2) แบบบันทึกทางการพยาบาลด้วยรูปแบบใหม่ที่ได้จากวิธีการเดียวกับแบบบันทึกทางการพยาบาลเดิม จำนวน 87 ชุดที่ได้จากการสุ่มแบบมีระบบเช่นกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มีดังนี้ 1) แบบบันทึกทางการพยาบาลเดิม 2) แบบบันทึกทางการพยาบาลใหม่ 3) แบบตรวจสอบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลและคู่มือ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาล โดยเครื่องมือวิจัย 3) และ 4) ผ่านการหาค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.91 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาการบันทึกทางการพยาบาลที่พบ ได้แก่ วิธีการบันทึกไม่ครอบคลุมตามกระบวนการพยาบาล บันทึกไม่ครอบคลุมไม่ถูกต้องและไม่ต่อเนื่อง 2) รูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย (1) แบบบันทึก 2 ประเภท ได้แก่ แบบบันทึกการประเมินผู้ป่วย และแบบบันทึกแผนการพยาบาล กิจกรรมการพยาบาล ความก้าวหน้าของผู้ป่วย และสรุปการจำหน่ายผู้ป่วย และ (2) วิธีการบันทึกตามแนวคิดของกระบวนการพยาบาลและความต้องการแบบองค์รวมของผู้ป่วย 3) ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลโดยรวมสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และความพึงพอใจของพยาบาลต่อรูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้นโดยรวมสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบันทึกการพยาบาลth_TH
dc.subjectการพยาบาล--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการบันทึกทางการพยาบาลในหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลแม่สายth_TH
dc.title.alternativeThe development of a nursing documentation model in the Accident and Emergency Unit, Maesai Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: 1) to study the problems of nursing documentation at the Accident and Emergency Unit of Maesai Hospital, 2) to develop a nursing documentation model, and 3) to compare the effects of using the nursing documentation model before and after the development. The samples whom were selected by purposive sampling was divided into 3 groups according to phases of study. 1) Problem study period included 2 groups: (1) seventeen professional nurses who worked in the Accident and Emergency Unit were selected by purposive sampling, and ( 2) Eighty seven previous nursing charts were chosen by systematic sampling. 2) The model development phase included ten professional nurses whom were selected by purposive sampling. 3) The trial phase contained 1) the same professional nurses as in the problem study phase, and 2) Eighty seven new nursing charts were selected with the same means as the previous ones. Research tools consisted of 1) previous nursing charts, 2) new nursing charts, 3) an audit checklist of nursing record quality and its manual, and 4) questionnaires of professional nurses’ satisfaction on the nursing documentation. The reliabilities of the third and the fourth parts were 0.95 and 0.91 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics and t-test. The research findings were as follows. 1) The problems of the nursing documentation revealed that the charting procedures were not based on nursing process, incorrect, incomplete, and discontinuous. 2)The developed nursing documentation model comprised 2 categories: (1 ) two forms including patient assessment and nursing care plan-activitiespatient progression-discharge summary forms and (2) charting procedures aligned with a nursing process concept and patient needs with holistic approach. 3) The mean scores of the quality of nursing documentation was significantly higher than the prior at the level 0.01, and the professional nurses’ satisfaction of the nursing documentation model after developing were also significantly higher than the previous one at the level 0.05en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons