Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11202
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาณี บำรุงเวช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T07:20:41Z-
dc.date.available2024-01-19T07:20:41Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11202-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนามาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษา ระดับจังหวัด และ (2) ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระคับจังหวัดที่ พัฒนาขึ้น ประสบการณ์ด้านเครือข่ายวิจัยทางการศึกษา เป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับกรอบแนวทางการดำเนินงานของ เครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด (2) ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 17 คน เป็นผู้มีบทบาทเกี่ยวข้องกับ เครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด เป็นผู้พิจารณาความเหมาะสมของมาตรฐานเครือข่ายวิจัย ทางการศึกษาระดับจังหวัด และ (3) กลุ่มผู้บริหารเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด มีผลงาน ดี กับ ทั่วไปจำนวน12 คน เป็นผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพการดำเนินงานของเครือข่ายวิจัยทางการศึกษา ระดับจังหวัดในขั้นของการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสอบถามประเภทมาตร ประมาณค่า และ แบบประเมินการดำเนินงานของเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมาย ผลการวิจัย พบว่า มาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัด ประกอบด้วย 3 มิติ คุณภาพ คือ (1) มิติปัจจัยนำเข้า จำแนกเป็น 4 องค์ประกอบ 19 ตัวชี้วัด (2) มิติกระบวนการ จำแนกเป็น 4 องค์ประกอบ 28 ตัวชี้วัด และ (3) มิติผลผลิตหรือผลลัพธ์ จำแนกเป็น 2 องค์ประกอบ 14 ตัวชี้วัด ผล การตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดที่พัฒนาขึ้น พบว่า มีความตรง ตามโครงสร้าง กล่าวคือ สามารถจำแนกคุณภาพเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดกลุ่มรู้ชัด โดยปรากฏคะแนนผลการประเมินในกลุ่มจังหวัดที่มีผลงานดี สูงกว่า กลุ่มจังหวัดทั่วไป อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.234-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการศึกษา--วิจัย--ไทยth_TH
dc.titleการพัฒนามาตรฐานเครือข่ายวิจัยทางการศึกษาระดับจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeThe development of standards of educational research network at the provincial levelth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.234-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Purposes of this research were (1) to develop of Standard of the Education Research Network at the Provincial Level ; and (2) to verify the quality of standard of the Education Research Network at the Provincial Level The research sample consisted of: (1) The group of 5 experts who have the knowledge and experience in the educational research network to provide expert opinion according to advising the divide in the research network at the provincial level; (2) The group of 17 expert who instrumental in operating of the research network at the provincial level to consider suitability of standard of the research network at the provincial level and collect the data in 2 time .; and (3) The group of 12 provincial research network administrators to provide the opinion according to the state in the development drafting of the research network at the provincial level in the step of verifying the quality in the standard of the development in research network during the good research network province and regular research network province . Research instruments were an open-ended questionnaire, rating scale questionnaire, and a competency assessment form for the research network at the provincial level. Data were analyzed by content analysis and statistical procedures for the median, inter-quartile range, mean, standard deviation, and the sign test. Research findings shown that the standard of educational research network at the provincial level comprised 3 main competencies: (1) quality of input factor with 4 elements and 19indicators; (2) quality of process with 4 elements and 28 indicators; (3) quality of product and result with 2 elements and 14 indicators. The standard of educational research network at the provincial level were found the result that can classify the research network at the provincial level according to point of the evaluation in the good research network province and regular research network province form that of common instructors significantly at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons