Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11203
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | นิศมา ภุชคนิตย์, 2514- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T07:21:53Z | - |
dc.date.available | 2024-01-19T07:21:53Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11203 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารโรงพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลในการบริหารระบบคุณภาพโรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี (2) ปัจจัยระดับบุคคลปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารและปัจจัยด้านองค์กร (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารและปัจจัยด้านองค์กรกับสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาล และ (4) อิทธิพลของปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารและปัจจัยด้านองค์กรที่ส่งผลต่อสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ หัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลที่รับผิดชอบระดับปฏิบัติการของโรงพยาบาลรัฐในจังหวัดสุพรรณบุรี 9 แห่ง จำนวน 155 คน สุ่มอย่างเป็นระบบ จำนวน 120 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.914 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า (1) ระดับสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลในการบริหารระบบคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางแต่รายด้าน คือ การตั้งเป้าหมาย การวางแผนและการปฏิบัติตามแผนอยู่ในระดับสูง (2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยปัจจัยด้านองค์กรอยู่ในระดับสูง ส่วนปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยระดับบุคคล ปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารและปัจจัยด้านองค์กรโดยรวมมีความสัมพันธ์กับสมรรถนะโดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ (4) ปัจจัยระดับบุคคลด้านบทบาทการเข้าร่วมในระบบคุณภาพ ปัจจัยด้านการจูงใจจากผู้บริหารในมิติการสร้างแรงบันดาลใจ และปัจจัยด้านองค์กรในมิติการทำงานเป็นทีมภายในหน่วยงานมีอิทธิพลต่อสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลในการบริหารระบบคุณภาพโรงพยาบาล โดยมีประสิทธิภาพการทำนายร้อยละ 64.10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาล--ไทย--สุพรรณบุรี--การบริหาร | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อสมรรถนะของหัวหน้าหน่วยงานด้านการพยาบาลในการบริหารระบบคุณภาพโรงพยาบาลในจังหวัดสุพรรณบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting the competency of chief nurses towards quality system management of hospitals in Suphan Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this survey research were to study: (1) the competency of chief nursing unit in hospital quality system management in Suphanburi Province; (2) personal factors, motivation factors of the executives, and the organizational factors; (3) relationship between personal factors, motivation factors and organization factors, and chiefs’ nurse competency; and (4) the influence of personal factors, motivation factors and organizational factors on the competency of chief nursing unit. The study population was 155 chief of nursing unit, who were responsible for operating level of 9 governmental hospitals in Suphanburi province, 120 people were systematically random selected. The research tool was a questionnaire with a reliability of 0.914. The data were analyzed with percentage, mean, standard deviation, Pearson's correlation coefficient and multiple regression analysis. The results showed that: (1) The competency of chief nurses in the overall quality system management was at a moderate level. But in each part, the goal setting, planning and implementation of the plan were at high levels; (2) overall of factors related to competency were at a moderate level, organizational factors at a high level, and personal factors and executive motivation factors at moderate levels; (3) personal factors, the motivation factors from executives and organizational factors correlated with overall competency with statistical significance level at 0.001; and (4) personal factors in the role of participation in the quality system, the motivation factors from the executives in the dimension of motivation and organizational factors in the dimension of teamwork within the work unit influence the competencies of the chief nursing in hospital quality system management with prediction efficiency at 64.10 percent. There were statistical significance level at 0.01 | en_US |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License