Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11208
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | อุไรวรรณ บุรินทร์โกษฐ์, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T07:40:24Z | - |
dc.date.available | 2024-01-19T07:40:24Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11208 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ กับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ (3) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่กำลังเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ของโรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว จังหวัดภูเก็ต จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 35 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และ (3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่เรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่เรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่เรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ มีเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--ภูเก็ต | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ เรื่อง น้ำและอากาศ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลบ้านบางเหนียว จังหวัดภูเก็ต | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of 7E inquiry learning management together with graphic organizers in the topic of Water and Air on science learning achievement and attitude toward science of Prathom Suksa III students at Tessaban Ban Bangneaw School in Phuket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare science learning achievements in the topic of Water and Air of Prathom Suksa III students before and after learning under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers; (2) to compare science learning achievement in the topic of Water and Air of the students after learning under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers with the 80% of full score criterion; and (3) to compare attitudes toward science of the students before and after learning under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers. The research sample consisted of 35 students in an intact classroom of Tessaban Ban Bangneaw School in Phuket province during the first semester of the 2017 academic year, obtained by cluster random sampling. The research instruments comprised (1) learning management plans for the instruction based on the 7E inquiry learning management together with graphic organizers, (2) a science learning achievement test, and (3) a scale to assess attitude toward science. The data was statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings indicated that (1) the post-learning science learning achievement of the students who learned under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significance; (2) the postlearning science learning achievement of the students who learned under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers was significantly higher than the 80% of full score criterion at the .05 level of statistical significance; and (3) the post-learning attitude toward science of the students who learned under the 7E inquiry learning management together with graphic organizers was significantly higher than their pre-learning counterpart attitude at the .05 level of statistical significance | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License