Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11226
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | จันทร์จิรา อยู่ยา, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-22T07:52:43Z | - |
dc.date.available | 2024-01-22T07:52:43Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11226 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษา 2) เปรียบเทียบจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษา 3) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษากับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ 4) เปรียบเทียบจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษากับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนแม่ปะวิทยาคมอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก จำนวน 2 ห้องเรียนๆ ละ 23 คน รวมทั้งสิ้น 46 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เครื่องมือการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษาและแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและแบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ผลการวิจัยมี ดังนี้ 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษามีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจากที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษามีจิตวิทยาศาสตร์สูงกว่าก่อนการได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษามีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสะเต็มศึกษาและกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติมีจิตวิทยาศาสตร์ไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ตาก | th_TH |
dc.title | การใช้กิจกรรมสะเต็มศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูงและจิตวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนแม่ปะวิทยาคม จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | The use of STEM education activities to develop integrated science process skills and scientific mind for Mathayom Suksa III students at Maepa Witthayakhom School in Tak Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare integrated science process skills of Mathayom Suksa III students before and after learning by using STEM Education activities; (2) to compare the levels of scientific mind of Mathayom Suksa III students before and after learning by using STEM Education activities; (3) to compare integrated science process skills of Mathayom Suksa III students in the group learning by using STEM Education activities with the counterpart science process skills of the group learning from regular learning activities; and (4) to compare the level of scientific mind of Mathayom Suksa III students in the group learning by using STEM Education activities with the counterpart scientific mind of the group learning from regular learning activities. The research sample consisted of 46 Mathayom Suksa III students in two intact classrooms of Maepa Witthayakhom School, Mae Sot district, Tak province, obtained by cluster sampling. Then the two classrooms were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which consisting of 23 students. The research instruments were learning management plans for the instruction using STEM Education activities, learning management plans for the instruction using regular learning activities, an integrated science process skills test, and a scale to assess scientific mind. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: (1) the post-learning scores on integrated science process skills of Mathayom Suksa III students who learned by using STEM Education activities were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level; (2) the post-learning scores on scientific mind of Mathayom Suksa III students who learned by using STEM Education activities were significantly higher than their pre-learning counterpart scores at the .05 level; (3) the post-learning scores on integrated science process skills of Mathayom Suksa III students in the group learning by using STEM Education activities were significantly higher than the post-learning counterpart scores of students in the group learning from regular learning activities at the .05 level; and (4) no significant difference was found between the post-learning scientific mind scores of Mathayom Suksa III students in the group learning by using STEM Education activities and the post-learning counterpart scores of students in the group learning from regular learning activities. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | จุฬารัตน์ ธรรมประทีป | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License