Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11259
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ณิชา แจ่มฤกษ์แจ้ง, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-24T08:09:37Z | - |
dc.date.available | 2024-01-24T08:09:37Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11259 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการบริหารบุคลากรที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโรงเรียนของรัฐระดับมัธยมศึกษาที่มีโครงการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ และ (2) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการบริหารบุคลากรที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโรงเรียนดังกล่าว การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ กรณีศึกษาครั้งนี้ คือ โรงเรียน A โดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาต่างประเทศและโครงการจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษ ครูไทยและครูต่างชาติ จำนวนทั้งสิ้น 5 คน เครื่องมือการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 3 ฉบับ และแบบบันทึกเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อทำความเข้าใจบริบทของหัวข้อวิจัย และนำข้อสรุปไปตรวจสอบแบบสามเส้าเพื่อความถูกต้องและแม่นยำกับผู้ให้ข้อมูล ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพการบริหารบุคลากรที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมของโรงเรียนที่เป็นกรณีศึกษา ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ (1.1) ด้านการสรรหาและคัดเลือก (1.2) ด้านการบรรจุแต่งตั้ง (1.3) ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน (1.4) ด้านการจ่ายเงินเดือนและค่าตอบแทน (1.5) ด้านการอบรมพัฒนา และ (1.6) ด้านการสร้างโอกาสทางวิชาชีพ และ (2) ปัญหาที่พบเกี่ยวข้องกับการธำรงรักษาครูที่ดี สัมพันธภาพเนื่องมาจากความแตกต่างทางวัฒนธรรม และการสื่อสารที่ไม่ชัดเจน ส่วนข้อเสนอแนะ ได้แก่ ภาวะผู้นำของบริหารสถานศึกษา การใช้หลักการในการอยู่ร่วมกันท่ามกลางความหลากหลายที่อาศัยความร่วมมือ การสื่อสารเกี่ยวกับภาระงานที่ชัดเจน และการให้ความสำคัญที่การเรียนการสอน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | โรงเรียนในกำกับของรัฐ--การบริหารงานบุคคล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การบริหารบุคลากรที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม : กรณีศึกษาโรงเรียนของรัฐระดับมัธยมศึกษาที่มีโครงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน | th_TH |
dc.title.alternative | Personnel management with cultural diversity : a case study of a public secondary school with English Program (EP) | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the state of personnel management with cultural diversity of a public secondary school with English Program (EP), and (2) to study the problems and suggestions for personnel management with cultural diversity of the school. This study was a qualitative research to study School A as the case of study. The qualitative data collecting method comprised a documentary study and in-depth interviews. The key research informants totaling 6 persons consisted of a high level school administrator, a head of the Foreign Language Learning Area and the English Program (EP), Thai teachers, and foreign teachers. The research instruments consisted of three in-depth interview forms and a document recording form. The research data were analyzed using content analysis to gain understanding of the context of research topic and derive at conclusions. The data were validated with triangulation technique and feeding of the conclusions back to the informants for validation by confirmation. Research findings revealed that (1) the state of personnel management with cultural diversity of the school with English Program (EP) comprised 6 aspects as follows: (1.1) the recruitment and selection aspect, (1.2) the placement aspect, (1.3) the performance appraisal aspect, (1.4) the payroll and compensation aspect, (1.5) the professional development aspect, and (1.6) the professional opportunity enhancement aspect; and (2) the problems found related to good teacher maintenance, relationship due to cultural diversity, and imprecise communication; while suggestions for solving the problems were the following: school administrator’s leadership, applying principles of coexistence amidst diversity based on collaboration, clear communication about workloads, and emphasizing on teaching and learning. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162812.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License