Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11289
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปิยวรรณ บุญฤทธิ์, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T07:44:52Z | - |
dc.date.available | 2024-01-25T07:44:52Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11289 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความก่อนและหลังเรียน จากวิธีการสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ (2) ศึกษาความพึงพอใจ ที่มีต่อวิธีสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด จังหวัดพัทลุง จานวน 30 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการเรียนจากวิธีการสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง สูงกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อวิธีสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุงในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การอ่านขั้นมัธยมศึกษา--ไทย--พัทลุง | th_TH |
dc.subject | ภาษาไทย--การอ่าน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการใช้วิธีสอนอ่านแบบ OK5R ร่วมกับนิทานพื้นบ้านจังหวัดพัทลุงที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด จังหวัดพัทลุง | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of using the OK5R reading teaching method together with Phatthalung folk tales on reading comprehension ability of Prathom Suksa III students at Tessaban Wat Nang Lat School in Phatthalung Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare reading comprehension abilities of Prathom Suksa III students before and after learning from the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales; and (2) to study the satisfaction with the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales of Prathom Suksa III students. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa III students of Tessaban Wat Nang Lat School in Phatthalung Province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans for the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales; (2) a test of reading comprehension ability; and (3) a questionnaire on student’s satisfaction with the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were as follows: (1) the post-learning reading comprehension ability of Prathom Suksa III students after learning from the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level; and (2) Prathom Suksa III students were satisfied with the OK5R reading teaching method together with Phattalung folk tales at the high level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศศิธร บัวทอง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161691.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License