Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุทธิดา จำรัส, อาจารย๋ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาลีรัตน์ ภู่เกิด, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-26T04:20:36Z-
dc.date.available2024-01-26T04:20:36Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11297-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขต 1 อุบลราชธานี ที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี กับของนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนกลุ่มดังกล่าวที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี กับของนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ และ (3) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนกลุ่มดังกล่าวที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ซึ่งเป็นโรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขต 1 อุบลราชธานี จำนวน 72 คน เป็น 2 ห้องเรียนแบบคละความสามารถ ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น (1) ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี และ (3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาเคมี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) เจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) เจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectเคมี--ไทย--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--อุบลราชธานีth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเคมี เรื่องสมดุลเคมี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี และเจตคติต่อวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนในกลุ่มสหวิทยาเขต 1 อุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeEffect of using a chemical learning activity packages in the topic of Chemical Equilibrium on learning achievement and attitude towards chemistry of Matthayom Suksa V students in School Consortium 1, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare chemistry learning achievement in the topic of Chemical Equilibrium of Mathayom Suksa V students of School Consortium 1 in Ubon Ratchathani province who learned by using a chemical learning activity package with that of the students who learned the topic under traditional teaching; (2) to compare attitude towards chemistry of the students who learned by using a chemical learning activity package with that of the students who learned under traditional teaching; and (3) to compare the students’ attitudes towards chemistry before and after learning by using a chemical learning activity package. The research sample consisted of 72 Mathayom Suksa V students in two intact and mixed ability classrooms of Triam Udom Suksa Pattanakarn Ubon Ratchathani School which was in the School Consortium 1 of Ubon Ratchathani province. They were obtained by cluster sampling. Then one classroom was randomly assigned as the experimental group; the other classroom, the control group. The employed research instruments were (1) a chemical learning activity package in the topic of Chemical Equilibrium; (2) a learning achievement test on the topic of Chemical Equilibrium; and (3) a scale to assess attitude towards chemistry. The data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The results of this study indicated that (1) chemistry learning achievement of the students who learned by using a chemical learning activity package in the topic of Chemical Equilibrium was significantly higher than the counterpart learning achievement of the students who learned under traditional teaching at the .05 level of statistical significance; (2) attitude towards chemistry of the students who learned by using the chemical learning activity package was significantly higher than the counterpart attitude of the students who learned under traditional teaching at the .05 level of statistical significance; and (3) the post-learning attitude towards chemistry of the students who learned by using the chemical learning activity package in the topic of Chemical Equilibrium was significantly higher than their pre-learning counterpart attitude at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_161732.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons