กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11298
ชื่อเรื่อง: อำนาจของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติในการส่งเรื่องให้หน่วยงานอื่นดำเนินการกล่าวหาคดีอาญาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐแทน
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The national anti-corruption commission's authority in remittance of the allegation issues to other agencies for the criminal case allegation against the government officers instead
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: รพิตา เทพหัสดิน ณ อยุธยา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์
คำสำคัญ: ข้าราชการ
การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ--ไทย
การฟ้องคดีอาญา
การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
วันที่เผยแพร่: 2562
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี ขั้นตอนและกระบวนการทางกฎหมายในการดำเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 2) วิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาที่เกิดจากการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมายเรื่องกล่าวหาเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการให้หน่วยงานอื่นๆ ดำเนินการ 3) เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหาปรับปรุงกฎหมายในการมอบหมายเรื่องกล่าวหาดังกล่าวให้หน่วยงานอื่นดำเนินการ ผลการศึกษาพบว่า 1) แนวคิด ทฤษฎี ขั้นตอนและกระบวนการทางกฎหมายในการดำเนินคคีอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐที่กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการมีกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ 2) จากการ วิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดจากการที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ส่งเรื่องให้หน่วยงานอื่นดำเนินการกล่าวหาดคีอาญาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐแทนอาจส่งผลให้เกิดปัญหาหลายประการ 3) ผู้ศึกษาจึงเสนอแนวทางในการศึกษาให้เห็นถึงปัญหาในเรื่องดังกล่าวโดยให้กำหนดลักษณะเรื่องที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะสามารถส่งหรือมอบหมายให้หน่วยงานอื่นๆ ดำเนินการแทนได้ไว้อย่างชัดแจ้งในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11298
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.37 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons