Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11307
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
dc.contributor.author | ระพีพันธ์ จอมมะเริง, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-26T07:51:21Z | - |
dc.date.available | 2024-01-26T07:51:21Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11307 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาวิธีการจัดองค์ การและโครงสร้างของศูนย์สุขภาพชุมชนใน การให้บริการด้านเอชไอวีในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสองของภาคประชาสังคม (2) ศึกษาฐานคติในการจัดตั้งและการเข้าร่วมงานศูนย์ สุขภาพชุมชนในการให้ บริการด้านเอชไอวีในกลุ่มชายที่มี เพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสองของภาคประชาสังคม และ (3) เพื่อจัดทําข้อเสนอแนะทางนโยบายเพื่อให้ ตอบสนองต่อรูปแบบและแนวทางวิธีการจัดองค์การและโครงสร้างของศูนย์สุขภาพชุมชนเพื่อให้สอดคล้องกับการให้บริการด้านเอชไอวีในภาพรวมของประเทศ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเพื่อตอบคําถามวิจัยหลั ก 3 ข้อคือ 1) วิธีการจัดองค์การและโครงสร้างของศูนย์สุขภาพในฐานะที่เป็นองค์การภาคประชาสังคมเป็นอย่างไร 2) ฐานคติในการจัดตั้งศูนย์ สุขภาพชุมชนแห่งนี้มีลักษณะเช่นใด และ 3) มีข้อเสนอแนะทางนโยบายอะไรเพื่อให้ตอบสนองต่อรูปแบบและ แนวทางการจัดองค์การและโครงสร้างของศูนย์ สุขภาพชุมชนให้มีประสิทธิผลวิธีดำเนินการวิจัยเป็นการทบทวนเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักในศูนย์สุขภาพฟ้าสีรุ้งรามคำแหง จำนวน 9 ตัวอย่าง แล้วนำมาวิเคราะห์แบบเชิงประเด็น เครื่องมือที่ใช้คือแนวคำถามสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ซึ่งมีการทดสอบคุณภาพ ในเรื่องความเที่ยงและความตรงโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน จาการศึกษา พบว่า (1) วิธีการจัดองค์การและโครงสร้างของศูนย์ สุขภาพชุมชนในกรณีของศูนย์สุขภาพฟ้าสีรุ้งสามารถวิเคราะห์ออกมาเป็น 5 มิติคือ ด้านวัตถุประสงค์์ ซึ่งในด้านวัตถุประสงค์ มีความชัดเจนคือ เพื่อการเข้าถึงบริการในกลุ่มประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสอง ด้านโครงสร้างองค์การแบบเครื่องจักรหรือองค์การระบบราชการแบบเครื่องจักรกลที่มีลักษณะงานเป็นกิจวัตร มีกฎระเบียบที่เป็นทางการมีอํานาจการบังคับบัญชาด้านบุคลากรมีทั้งที่บุคลากรที่มีใบประกอบวิชาชีพทางด้านการแพทย์ และบุคลากรที่มาจากชุมชนที่มีความหลากหลายทางเพศ ด้านข้อมูลมีทั้้งข้อมูลที่จัดทําเองและตามความต้องการของแหล่งทุน และด้านเทคนิคมี 3 ประการคือ ด้านวิชาการที่สนับสนุนโดยสภากาชาดไทย ด้านมาตรฐานที่กําหนด โดยกระทรวงสาธารณสุข และด้านการบริหารที่กำหนดโดยภาคประชาสังคมด้วยกัน (2) ฐานคติของการจัดตั้งศูนย์เป็นไปเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในการดําเนินงานตามตัวแบบเข้าถึง-ชักชวน-ตรวจ-รักษา-ป้องกัน-ต่อเนื่องที่เป็นมิตรกับกลุ่มเป้าหมายที่สุด และ (3) ในส่วนของข้อเสนอแนะทางนโยบายยังคงต้องมีการหาความสมดุลระหว่างกลไกปกติที่ผู้ ให้บริการเป็นบุคลากรวิชาชีพและการส่งเสริมให้บุคลากรจากพื้นที่ในชุมชนสามารถจัดบริการด้านเอชไอวีได้ด้วยตนเอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ศูนย์สุขภาพฟ้าสีรุ้ง | th_TH |
dc.subject | เอชไอวี (ไวรัส) | th_TH |
dc.subject | การจัดองค์การ | th_TH |
dc.subject | ศูนย์สุขภาพชุมชน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารสาธารณสุข | th_TH |
dc.title | การจัดองค์การศูนย์สุขภาพชุมชนเพื่อให้บริการด้านเอชไอวีในกลุ่มชาย ที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและสาวประเภทสองของภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาศูนย์สุขภาพฟ้าสีรุ้ง | th_TH |
dc.title.alternative | Organization of community health center to provide HIV services for men who have sex with men and transgender women by the civil society : a case study of Rainbow Health Center | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to: (1) explore how the community health center, as an entity in the civil society sector, is organized and structured; (2) make assumptions for the establishment of this community health center and factors affecting staff’s decision to work there; and (3) make policy recommendations in response to modeling and organization to be an effective community health center. This study applied a qualitative method to answer three research questions, including: (1) How is the community health center, as an entity in the civil society sector, organized and structured? (2) What are the assumptions for the establishment of this community health center and factors affecting staff’s decision to work there? (3) What are policy recommendations in response to modeling and organization to be the effective community health center? The methodology applies a combination of the desk review approach and the in-depth interview approach for data collection from nine key informants of the Rainbow Health Center Ramkhamhaeng; and data were then analyzed by applying thematic analysis. The study has revealed that: (1) the modeling of the community health center can be presented in five dimensions, including the objective being clear to increase health service access for men who have sex with men and transgender women; the structure being machine bureaucracy with routine operations, formal rules and authority hierarchy; staff being licensed medical/health professionals and community members with gender diversity; its management information system including their own system and those required by donors; and the three-dimension techniques, including technical support from the Thai Red Cross Society, standardization by the Ministry of Public Health, and management standards by the civil society norms; (2) The assumption for the establishment of the community health center is to enable the implementation in compliance with the Reach-Recruit-Test- Treat-Prevent-Retain framework with the friendliest setting possible; and (3) in terms of policy, there is an issue around the balance between having professionals providing services versus empowering community workers to provide and manage their own HIV services | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License