Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนาลัน แป้นปลื้ม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญญาภา ทวีทรัพย์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-30T02:45:16Z-
dc.date.available2024-01-30T02:45:16Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11327-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ข้อมูลส่วนบุคคล สังคม และเศรษฐกิจชองสมาชิกวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่ 2) การผลิตข้าวของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน 3) การบริหารการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน และ 4) ปัญหาและข้อเสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน ผลการวิจับพบว่า 1) สมาชิกวิสาหกิจชุมชนที่ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 57.33 ปี จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย4.02คน ประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ย 29.72 ปี จำนวนแรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.37 คน พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 23.46 ไร่ รายได้ของครัวเรือนทั้งหมดเฉลี่ย 196,916.67 บาท/ปี รายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 131,516 บาท/ปี ต้นทุนการผลิตข้าวเฉลี่ย 53,540 บาท/ปี และผลผลิตข้าวเฉลี่ย 561.60 กิโลกรัม/ไร่ 2) การผลิตข้าวของสมาชิกวิสาหกิจชุมชน พบว่า สภาพพื้นที่ปลูกข้าวเป็นที่ลุ่ม ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทราย ปลูกข้าวโดยวิธีหว่านแห้งโดยใช้เมล็ดพันธุ์ 25 กิโลกรัม/ไร่เก็บเมล็ดพันธุ์เอง ใช้ปุ๋ยเคมี ใช้น้ำฝนโดยมีการรักษาระดับน้ำตลอดฤดูการผลิต ส่วนใหญ่ไม่มีการกำจัดวัชพืชการเก็บเกี่ยวข้าวใช้รถเกี่ยวนวดข้าว แล้วนำผลผลิตทั้งหมดไปตากแดดเพื่อลดความชื้น 3) การบริหารการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติประจำ ได้แก่ การบริหารกลุ่ม การจัดการวัตถุดิบและต้นทุนการผลิต ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ส่วนประเด็นที่ไม่ปฏิบัติ คือ การจัดการเกี่ยวกับการตลาด 4) ปัญหาในภาพรวม พบว่า สมาชิกวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่มีปัญหาระดับน้อยทุกประเด็น ทั้งด้านการบริหารจัดการกลุ่ม กระบวนการผลิต การตลาด และการได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยมีข้อเสนอแนวทางว่า วิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่ควรได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้สามารถดำเนินงานอย่างเข้มแข็งทั้งทางด้านการผลิตและตลาดข้าวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน--การจัดการth_TH
dc.titleการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชนนาแปลงใหญ่ในอำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeThe operations of rice collaborative farm community enterprises in Sida district of Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) personal and socio-economic data of rice collaborative farm community enterprise members, 2) rice production by the member, 3) operational management of the community enterprise, and 4) problems and a recommended guideline for operational development of the community enterprise. The research population was 801 members of seven rice collaborative farm community enterprises in Sida District, Nakhon Ratchasima Province. The samples were determined by using Taro Yamane’s formula with an error level of 0.07 accounting for 163 members and selected by simple random sampling method. The data were collected by a questionnaire and analyzed by descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, minimum and maximum values. The results showed that: 1) the majority of informative community enterprise members was female with an average age of 57.33 years, finished primary education, had average 4.02 family members and 29.72 years of rice farming experience. The average 2.37 household farm labors worked on farm with an average 23.46 Rai of farm area. The average annual total household income and farm income were 196,916.67 and 131,516 baht respectively while an average annual farm expense was 53,540 baht and yield was 561.60 kilogram per rai. 2) Rice production by the community enterprise members, rice farm area was in lowland and sandy loam soil. They used dry sowing method with 25 kilograms per Rai by keeping their own seeds; chemical fertilizer was applied; water was under rain-fed condition; weed control was not done; harvester was used and grains were dried in open air for moisture reduction. 3) The operational management of community enterprise, most of them practiced frequently as following aspects: management of raw material and production cost and also the support from government and private agencies. On the other hand, most of them didn’t perform in the aspect of marketing management. 4) They faced all problems at low level including group management, production process, marketing, and supporting from government and privates agency. Furthermore they suggested that the collaborative farm community enterprise should be supported from various agencies for strengthening of rice production and marketingen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons