Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11346
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุรเดช รอดจินดา, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-01T06:12:43Z | - |
dc.date.available | 2024-02-01T06:12:43Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11346 | en_US |
dc.description | ดุษฏีนิพนธ์ (ปร.ด (ศึกษาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการบริหารเครื่อข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภาคเหนือตอนบน และ 2) ประเมินรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคเหนือตอนบน วิธีดำเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ดังนี้ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภาคเหนือตอนบน มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ร่างรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษา จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร ขั้นตอนที่ 2 ตรวจสอบร่างรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษาด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 20 คน ใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างและวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบองค์ประกอบเชิงสำรวจของรูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษา ภาคเหนือตอนบน ด้วยการเก็บข้อมูลจากผู้บริหารสถานศึกษา และรองฝ่ายวิชาการหรือหัวหน้าฝ่ายวิชาการ จำนวน 401 คน โดยใช้แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 วิเคราะห์ข้อมูลโคยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ระยะที่ 2 ประเมินคุณภาพของรูปแเบบโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 คน ด้วยการสนทนากลุ่ม และ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) รูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วยกระบวนการบริหาร 4 ขั้นตอนดังนี้ (1.1) การวางแผนการสร้างเครือข่าย ได้แก่ การระบุเป้าหมาย การสร้างพันธสัญญาร่วมกัน (1.2) การจัดองค์กรเครือข่ายความร่วมมือ (1.3) การดำเนินงานของเครือข่ายความร่วมมือ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และการนิเทศการศึกษา และ (1.4) การประเมินผลเครือข่ายความร่วมมือ ได้แก่ การประเมินผลการดำเนินงานของเครือข่ายความร่วมมือ ส่วนองค์ประกอบของเครือข่ายร่วมมือ ได้แก่ (ก) การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (ข) การสนับสนุนการใช้ทรัพยากรร่วมกัน (ค) การมีภาวะผู้นำทางวิชาการ (ง) การมีส่วนร่วมของสมาชิก (จ) การพัฒนาสมาชิกเครือข่าย (ฉ) การสื่อสาร (ช) การวัดและประเมินผลและ (ซ) การวิจัยคุณภาพการศึกษา และ (2) ผลประเมินคุณภาพของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นว่ารูปแบบมีความเหมาะสม มีความเป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ที่จะนำไปปฏิบัติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความร่วมมือทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การนิเทศการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือด้านวิชาการระหว่างสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคเหนือตอนบน | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to develop an academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region; and (2) to evaluate the developed academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region. The research process comprised two stages: The first stage was the development of an academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region. This stage consisted of three steps as follows: The first step was the drafting of the academic collaborative networks administration model between schools. The second step was the verification of the drafted academic collaborative networks administration model between schools by experts. Data were collected by interviewing 20 experts. The research instrument was a structured interview form. Data were analyzed with content analysis. The third step was a survey to verify the components of the developed academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region. Data were collected from 401 school directors, school associate directors, and academic section heads of the schools. The employed data collecting instrument was a 5- scale rating questionnaire, with reliability coefficient of .98. Data were analyzed using the percentage, mean, standard deviation, and survey component analysis. The second stage was the quality evaluation of the developed model by 15 experts who participated in a focus group discussion. The data were analyzed with content analysis. Research results were as follows: (1) the developed academic collaborative networks administration model between schools under Primary Education Service Area Offices in the Upper Northern Region was composed of four following steps of administrative process: (1.1) the planning for constructing the networks which consisted of the identification of goals, and the construction of mutual obligation; (1.2) the setting up of the organization for academic collaborative networks; (1.3) the operation of the organization for academic collaborative networks which consisted of curriculum development; learning process development; media, innovations and educational technology development; and educational supervision; and (1.4) the evaluation of the academic collaborative networks which was the operation evaluation of the academic collaborative networks; meanwhile, the components of the academic collaborative networks were the following: (a) having the common vision, (b) the support for sharing resources, (c) having academic leadership, (d) participation of network members, (e) development of network members, (f) communications, (g) measurement and evaluation, and (h) educational quality research; and (2) regarding evaluation results of the developed academic collaborative networks administration model, the experts had opinions that the developed model was appropriate, feasible, and useful upon implementation | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พีระ รัตนวิจิตร | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สมถวิล วิจิตรวรรณา | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 33.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License