กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11348
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธีรเดช มโนลีหกุลth_TH
dc.contributor.authorปิยธิดา ผาจวง, 2535-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-02-01T06:42:58Z-
dc.date.available2024-02-01T06:42:58Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11348en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎี และ หลักการต่อรองคำรับสารภาพ 2) ศึกษาถึงการนำมาใช้ในต่างประเทศ นำมาเปรียบเทียบกับกฎหมายไทยถึงความเป็นไปได้หรือแนวทางที่เหมาะสมหากมีการนำมาตรการต่อรอง คำรับสารภาพมาใช้ รวมไปถึง 3) ศึกษาในกรณีการนำมาใช้กับเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด โดยการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร จากกฎหมาย ตำราวิชาการ บทความ วิทยานิพนธ์ รายงานวิจัย โดยศึกษาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศ คำพิพากษาศาลฎีกา รวมถึงข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า 1) การต่อรองคำรับสารภาพถูกมาใช้อย่างแพร่หลายใน สหรัฐอเมริกาเพื่อแก้ปัญหาการบริหารกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 2) แต่เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ของไทยซึ่งแตกต่างไป จากสหรัฐอเมริกา จึงไม่อาจนำเอาวิธีการต่อรองคำรับสารภาพตามแนวความคิดของสหรัฐอเมริกามาใช้ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยได้ทั้งหมด แต่ควรปรับให้เข้ากับระบบกฎหมายของประเทศไทย สภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมือง โดยอาจนำมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ เพื่อให้การพิจารณาคดีของศาลเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพราะวิธีการต่อรองคำรับสารภาพนี้สามารถช่วยในการย่นระยะเวลาการดำเนินคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ปัจจุบันพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 ได้มีมาตรการจัดทำแผนแก้ไขบำบัดฟื้นฟูภายใต้หลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรการในชั้นก่อนฟ้องคดี ได้มีมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาซึ่ง มีเจตนารมเบี่ยงเบนคดีของเด็กและเยาวชนที่รู้สึกสำนึกในการกระทำออกจากกระบวนพิจารณา ของศาล ผู้ศึกษาจึงได้ศึกษาถึงการนำมาตรการต่อรองคำรับสารภาพมาใช้ในกรณี การกระทำความผิดต่อรัฐ ประกอบกับมาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญา ซึ่งเป็นมาตรการในชั้นก่อน ฟ้องคดีเพื่อหันเหเด็กที่กระทำความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก โดยศึกษาถึงการ นำมาใช้ให้เหมาะสมและเกิดความชอบธรรมในกระบวนการของเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งยังช่วยให้เด็กและ เยาวชนซึ่งกระทำความผิดนั้นสามารถได้รับการบำบัดอย่างทันท่วงที่และกลับคืนสู่สังคมได้ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการต่อรองคำรับสารภาพ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการนำมาตรการต่อรองคำรับสารภาพมาใช้ในประเทศไทยศึกษากรณีเด็กและเยาวชนกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดth_TH
dc.title.alternativeApplication of plea bargaining in Thailand: Case study of child and juvenile offenders in illegal narcotics issuesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to 1) study on the concepts, theories, and principles of Plea Bargaining and 2) studying the aforementioned measure in the foreign countries, comparing with the Thai laws in order to acknowledge theappropriate guidelines when the Plea Bargaining is occurred, as well as by 3) studying the aforementioned measure, utilizing in the Case of Child and Juvenile Offenders in Illegal Narcotics Issues. This independent study is the qualitative research with the study from laws, academic textbooks, articles, thesis, and research reports in both Thailand and foreign languages judgement of Supreme Court including relevant electronic medias. As a result of this study, 1) Plea bargaining is used more wide spread in the United States of America for solving the problems of Criminal Justice Administration. 2) However, the system of plea bargaining should also be adapted to the Thai legal system, Social condition, Economic and Political. This kind of system can be possiblied used by the public Prosecutors, for helping the courts’ work such as speedy trial and make it achieve to the aim of Criminal Justice System. 3) Currently, the Juvenile and Family Court and Its Procedure Act, B.E. 2553 contains the measures used in the legal channels for child and juvenile by arranging rehabilitation plans under the rules prescribed by law. Necessarily, the proper measures need to be studied in order to be used in the case of child and juvenile offenders in illegal narcotics issues. In the present time, the proper measures for solving the problems are not presented, especially in the preceding prosecution. The researcher has studied the adoption of plea bargaining to be used together with the special measures in lieu of criminal proceedings, which are the measures in the preceding prosecution in order to operate the case as well as turn the child offenders away from the mainstream justice by studying the proper utilization and legitimacy in the operating process of the government officers. Additionally, it could help child and juvenile offenders to be able to receive rehabilitation immediately and be able to return to society further.en_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fullext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.4 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons