Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุษบากร ดาษดา, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-01T08:33:03Z-
dc.date.available2024-02-01T08:33:03Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11359-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การมีส่วนร่วมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนและ (3) แนวทางการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนในชุมชนบ้านโคกเมือง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเลือกศึกษาชุมชนบ้านโคกเมืองอำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 2,718 คน ใช้การกำหนดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ เยมาเน่ ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล คือแบบสอบถาม โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญพบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) การมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการท่องเที่ยวคือ เพศ (3) แนวทางการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวภายในชุมชน การเพิ่มฐานการเรียนรู้รวมถึงการจัดภูมิทัศน์โดยรอบของชุมชนให้ดูสะอาดและสวยงาม การทำนุบำรุงและดูแลความสะอาดสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งโบรานสถานที่อยู่ภายในชุมชนเพื่อให้เกิดการดำเนินงานและการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนในอนาคต (4) ข้อเสนอแนะการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การบริหารจัดการภายในชุมชนนั้นควรมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารส่วนต่าง ๆ ของชุมชนเพิ่มมากขึ้น และควรมีการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมต่าง ๆ ให้บุคคล หรือหน่วยงานต่าง ๆ ได้รู้จักชุมชนบ้านโคกเมืองเพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นประโยชน์แก่ชุมชนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวโดยชุมชน--ไทยth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว--ไทย--บุรีรัมย์--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน--ไทย--บุรีรัมย์--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน : กรณีศึกษาชุมชน บ้านโคกเมือง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeThe participation in sustainable community-based tourism management case study: Ban Khok Mueang community, Prakhon Chai District, Buriram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to (1) study participation in community-based tourism management (2) study the factors affecting sustainable community-based tourism management ,and (3) study the guidelines for the development of sustainable tourism management in Ban Khok Mueang community,Prakhon Chai District Buriram Province. This independent study is the quantitative research in Ban Khok Mueang community, Prakhon Chai District Buriram Province. A total of 2,718 people as the study population were used to designate a sample of 400 people by using Taro Yemane’s sampling formulation. The tool used to collect data is a questionnaire collecting with random sampling method. Accidental encounter. The analysis of data was frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance (ANOVA), content analysis and multiple regression analysis. According to the study, it found out that (1) Participation level of community tourism management was at a moderate level. (2) The studied factor affecting tourism management was gender (3) Guidelines for community-based tourism management development shoud be as follows; developing of tourism activities within the community, increasing the learning base including the surrounding landscape of the community to be clean and beautiful, and better maintaining and cleaning tourist attractions.(4) Recommendations for community-based tourism management from this study are as follows ; in the management of the community, there should be more relevant agencies to participate in the management of various parts of the community. And there should be more advertisement to promote community tourism through social medias by various individuals or agencies in order to know more about Ban Khok Mueang community for the benefit of the community itselfen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168669.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons