Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11375
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กานต์ บุญศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | กิตติ ยามาสาเร๊ะ, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-02T03:17:54Z | - |
dc.date.available | 2024-02-02T03:17:54Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11375 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยเรื่อง การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทสมนตรี และ 2) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปีดรับสื่อของประชาชนกับปัจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี การวิจัชครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลตำบลโกตาบาร อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ กรทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรีจากมากไปน้อยได้ ประกอบด้วย (1) ด้านคุณสมบัติของตัวผู้สมัคร ได้แก่ เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก เป็นผู้มีความสามารถในการสื่อสาร เป็นผู้มีความรู้สูงกว่าปริญญาตรี เป็นผู้มีมนุษข์สัมพันธ์ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นผู้มีบุคลิกภาพดี เป็นที่พึ่งของประชาชนได้ ตามลำดับ (2) ด้านน โขบาย ได้แก่ ส่งเสริมความสะอาดบริเวณที่ต่าง ๆ ในแต่ละเขตพื้นที่ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาถนน สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยว สร้างอาชีพให้กับประชาชนเพื่อเพิ่มรายได้เสริม จัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ค้านสาธารณสุข จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างเขตพื้นที่แต่ละเขต สนับสนุนให้ประชาชนออกกำลังกายและเล่นกีพา ตามลำคับ (3) ด้านพรรค/กลุ่มการเมืองที่สังกัด ได้แก่ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีชื่อเสียง เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองขนาดใหญ่ เป็นพรรคที่มีนโยบายที่ดีต่อประชาชน บุคลากรในพรรคล้วนมีคุณภาพ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีผลงานดีในอดีตที่ผ่านมาเป็นพรรด/กลุ่มการเมืองที่ต่อสู้ในแนวทางประชาธิปไตย เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีอุคมการณ์ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีศักยภาพในการบริหารและพัฒนา ตามลำดับ และ (4) ด้านการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ได้แก่การใช้สื่อใหม่ในการรณรงค์หาเสียง การใช้สื่อบุคคล การใช้รถแห่หาเสียงทุกเส้นทาง การเสนอน โขบายและผลงานค้านบวก ตามลำดับ และ 2) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปีดรับสื่อของประชาชนกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี การเปีดรับสื่อภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแต่ละสื่อเรียงลำคับได้ดังนี้ สื่ออินเทอร์เน็ต รองลงมา คือ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุและสื่อหนังสือพิมพ์ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าในปัจจุบันประชาชนมีการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตมากกว่าสื่ออื่น 1 แต่สื่อโทร ทัศน์ก็ขังมีประชนเปีดรับในระดับมาก เนื่องจากเป็นสื่อที่ประชาชนเข้าถึงง่ายและยังเป็นสื่อที่เข้าถึงได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนสื่อหนังสือพิมพ์อยู่ในระดับน้อย เนื่องจากประชาชนสามารถข้าถึงข่าวสารของหนังสื่อพิมพ์จากสื่ออินเทอร์เน็ตแทนได้ และสื่อวิทยุประชาชนเปิดรับในระดับน้อยที่สุด เพราะสื่อวิทยุเป็นสื่อที่มีตึงดูดความสนใจของประชาชนได้น้อย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การสื่อสารทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง--ไทย--ยะลา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา | th_TH |
dc.title.alternative | Election campaign of a mayoral race in Kota Baru Subdistrict, Raman District, Yala Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study the election campaign of a mayoral race in Kota Baru Subdistrict, Raman District, Yala Province in terms of 1) factors the affected voters’ decisions to vote for a candidate and 2) the relationship between voters’ media exposure behavior and factors that affected their decisions to vote for a candidate. This was a quantitative research. The sample population was 400 voting age people living in Kota Baru Municipality in Raman District, Yala Province. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t test and f test. The results showed that 1) factors the affected voters’ decisions to vote for a candidate were, in order of importance, (1) the candidate’s qualifications, such as being well known, having good communication skills, being educated beyond the level of bachelor’s degree, having good human relations, honesty, good personality, and being someone the people can rely on; (2) policies, such as promoting cleanliness in all areas, repairing and maintaining roads, supporting tourist sites, creating jobs and increasing income for the people, allocating a budget for medical equipment and public health work, organizing activities to promote good relations between different areas in the municipality, and promoting fitness and sport, in that order; (3) the candidate’s political party or group, such as its reputation, its size, its policies to benefit the public, the quality of most of its members, its past work results, the extent to which it has fought for and upheld democracy, its ideals, and its administrative and development capacity, in that order; and (4) the campaign, such as the use of new media, the use of personal media, the use of loudspeaker vehicles on every route, and the presentation of positive policies and work results, in that order. 2) As for the relationship between voters’ media exposure behavior and factors that affected their decisions to vote for a candidate, overall, media exposure was medium. The sample population was exposed to Internet media the most, followed by TV, radio and newspaper in that order. This indicates that at present Thai people tend to be exposed to Internet more than other media, but many people are still exposed to TV because it is easy to access for every age group. Not many people are exposed to newspaper media because they can get their news from the Internet instead. Radio is the medium people are exposed to the least because most people do not find it interesting | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168408.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License