Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11375
Title: การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
Other Titles: Election campaign of a mayoral race in Kota Baru Subdistrict, Raman District, Yala Province
Authors: กานต์ บุญศิริ
กิตติ ยามาสาเร๊ะ, 2519-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์
Keywords: การสื่อสารทางการเมือง
การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง--ไทย--ยะลา
การศึกษาอิสระ--นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น
Issue Date: 2564
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาวิจัยเรื่อง การหาเสียงเลือกตั้งนายกเทศมนตรีตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทสมนตรี และ 2) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปีดรับสื่อของประชาชนกับปัจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี การวิจัชครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเทศบาลตำบลโกตาบาร อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ กรทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรีจากมากไปน้อยได้ ประกอบด้วย (1) ด้านคุณสมบัติของตัวผู้สมัคร ได้แก่ เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก เป็นผู้มีความสามารถในการสื่อสาร เป็นผู้มีความรู้สูงกว่าปริญญาตรี เป็นผู้มีมนุษข์สัมพันธ์ เป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริต เป็นผู้มีบุคลิกภาพดี เป็นที่พึ่งของประชาชนได้ ตามลำดับ (2) ด้านน โขบาย ได้แก่ ส่งเสริมความสะอาดบริเวณที่ต่าง ๆ ในแต่ละเขตพื้นที่ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาถนน สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยว สร้างอาชีพให้กับประชาชนเพื่อเพิ่มรายได้เสริม จัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ค้านสาธารณสุข จัดกิจกรรมสานสัมพันธ์ระหว่างเขตพื้นที่แต่ละเขต สนับสนุนให้ประชาชนออกกำลังกายและเล่นกีพา ตามลำคับ (3) ด้านพรรค/กลุ่มการเมืองที่สังกัด ได้แก่ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีชื่อเสียง เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองขนาดใหญ่ เป็นพรรคที่มีนโยบายที่ดีต่อประชาชน บุคลากรในพรรคล้วนมีคุณภาพ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีผลงานดีในอดีตที่ผ่านมาเป็นพรรด/กลุ่มการเมืองที่ต่อสู้ในแนวทางประชาธิปไตย เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีอุคมการณ์ เป็นพรรค/กลุ่มการเมืองที่มีศักยภาพในการบริหารและพัฒนา ตามลำดับ และ (4) ด้านการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ได้แก่การใช้สื่อใหม่ในการรณรงค์หาเสียง การใช้สื่อบุคคล การใช้รถแห่หาเสียงทุกเส้นทาง การเสนอน โขบายและผลงานค้านบวก ตามลำดับ และ 2) ความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการเปีดรับสื่อของประชาชนกับปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกตั้งนายกเทศมนตรี การเปีดรับสื่อภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแต่ละสื่อเรียงลำคับได้ดังนี้ สื่ออินเทอร์เน็ต รองลงมา คือ สื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุและสื่อหนังสือพิมพ์ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าในปัจจุบันประชาชนมีการใช้สื่ออินเทอร์เน็ตมากกว่าสื่ออื่น 1 แต่สื่อโทร ทัศน์ก็ขังมีประชนเปีดรับในระดับมาก เนื่องจากเป็นสื่อที่ประชาชนเข้าถึงง่ายและยังเป็นสื่อที่เข้าถึงได้ทุกเพศทุกวัย ส่วนสื่อหนังสือพิมพ์อยู่ในระดับน้อย เนื่องจากประชาชนสามารถข้าถึงข่าวสารของหนังสื่อพิมพ์จากสื่ออินเทอร์เน็ตแทนได้ และสื่อวิทยุประชาชนเปิดรับในระดับน้อยที่สุด เพราะสื่อวิทยุเป็นสื่อที่มีตึงดูดความสนใจของประชาชนได้น้อย
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11375
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168408.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons