Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11377
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิทยาธร ท่อแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | วิมลจันทร์ วุฒิคงสมบัติ, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-02T03:30:44Z | - |
dc.date.available | 2024-02-02T03:30:44Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11377 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง "การรับรู้และระดับความไว้วางใจที่มีต่อสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพของบุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร" มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ 1) การรับรู้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ 2) ระดับความไว้วางใจสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ 3) ความสัมพันธ์ของลักษณะทางประชากรด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา และ ข้อมูลด้านสุขภาพที่มีผลต่อการรับรู้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ และ 4) ความสัมพันธ์ของลักษณะทางประชากรค้านเพศ อายุ ระดับ การศึกษา และข้อมูลด้านสุขภาพที่มีผลต่อระดับความไว้วางใจสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรทางการแพทข์ของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เลือกแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิตเชิงอนุมาน โดยใช้การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และวิเคราะห์ระดับความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับรู้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพผ่านช่องทางสื่อสังคมออนไลน์ของกระทรวงสาธารณสุข สสส. และมีการรับรู้และความไว้วางใจในสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพในภาพรวมระดับมาก โดยมีการรับรู้ในระดับมากในประเด็นย่อย ประกอบด้วย (1) รูปตราสัญลักษณ์ (2) การรับรองการผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านปริมาณน้ำตาล (3) การรับรองการผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านปริมาณไขมัน (4) การรับรองการผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านปริมาณโซเดียม (5) การรับรองจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา และสถาบันโภชนาการมหาวิทยาลัยมหิดล (6) การช่วยให้ผู้บริโภคใช้เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจเพื่อเลือกซื้ออาหาร (7) การช่วยให้ผู้บริโภคได้เลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารที่ลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (8) ความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหาร และ (9) การแสดงในอาหารที่ไม่ได้จำกัดเฉพาะผู้ที่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังส่วนด้านความไว้วางใจในระดับมากในประเด็นย่อย ประกอบด้วย (1) อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสม (2) อาหารที่มีความปลอดภัย (3) อาหารที่ลดความเสี่ยงของการเป็นโรคติดต่อไม่เรื้อรัง (4) ผู้ผลิตอาหารมีความรับผิดชอบต่อสังคม (5) อาหารที่มีความคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป (6) อาหารได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่น่าเชื่อถือ 2) เพศและการตรวจสุขภาพประจำปีที่แตกต่างกันมีการรับรู้ในสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) เพศ ระดับการศึกษา และการตรวจสุขภาพประจำปีที่แตกต่างกันมีความไว้วางใจที่แตกต่างกันที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และ 4)การรับรู้สัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความไว้วางใจในสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพในระดับปานกลางที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การสื่อสารทางการแพทย์--ไทย | th_TH |
dc.subject | โภชนาการ--แง่สัญลักษณ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | การรับรู้และระดับความไว้วางใจที่มีต่อสัญลักษณ์โภชนาการทางเลือกสุขภาพ ของบุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Awareness and level of trust of healthcare personnel at hospitals in Bangkok in the "Healthier Choice" nutrition label | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research on healthcare personnel working at hospitals in Bangkok were to study 1) their awareness of the “Healthier Choice” food label; 2) their trust in the “Healthier Choice” label; 3) how the demographic characteristics of sex, age, educational level and health information affect samples’ awareness of the “Healthier Choice” food label; and 4) how the demographic characteristics of sex, age, educational level and health information affect samples’ trust in the “Healthier Choice” food label. This was a qualitative research. The sample population consisted of 400 healthcare personnel at hospitals in Bangkok, chosen through multi-stage sampling. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed by descriptive statistics along with t-test, one-way ANOVA and Pearson’s Product Moment Correlation. The results showed that 1) Most of the samples learned about the “Healthier Choice” food label through the online social media of the Ministry of Public Health/Thai Health, and they had a high level of both awareness and trust in the symbol. For each category, they had a high level of awareness about (1) the visual appearance of the logo, (2) certification for the product passing standards on sugar content, (3) certification for fat content, (4) certification for sodium content, (5) certification from the Food and Drug Administration and Mahidol University’s Nutrition Institute, (6) how it helps consumers in their food purchase decisions, (7) how it guides consumers in choosing food products that can reduce their risk of chronic diseases, (8) social responsibility of food producers, and (9) that the label is not used exclusively for food products for people with chronic diseases. As for the sub-categories of trust, the samples had a high level of trust that the label demonstrated (1) food products with suitable nutritional value, (2) food products that were safe, (3) food products that reduce risk of chronic diseases, (4) manufacturers that are socially responsible, (5) food products that are worth the cost, and (6) food products that are certified by credible authorities. 2) Samples of different sex and with different annual health checkup results had significantly different levels of awareness of the “Healthier Choice” food label at p<0.5. 3) Samples of different sex and with different annual health checkup results and different education levels had significantly different levels of trust in the “Healthier Choice” food label at p<0.5. 4) Awareness of the “Healthier Choice” food label was positively correlated with trust in the label to a medium degree at p<0.5 | en_US |
Appears in Collections: | Comm-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168413.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 19.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License