Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorซับกมล เคนออง, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T03:36:40Z-
dc.date.available2024-02-02T03:36:40Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11378-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการซื้ออาหารของผู้บริโภคเจนเนอเรชันวายที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารทางออนไลน์ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการซื้ออาหารทางออนไลน์ และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับพฤติกรรมการซื้ออาหารทางออนไลน์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรคือผู้บริโภคเจเนอเรชันวายที่มีอายุระหว่าง 21-41 ปี พักอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเคยซื้ออาหารทางออนไลน์ มีจำนวนทั้งสิ้น 3,285,708 คน คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางของทาโร ยามาเน่ได้จำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) ส่วนใหญ่ผู้บริโภคเจนเนอเรชันวายมีความถี่ในการสั่งซื้ออาหารทางออนไลน์ 2-3 ครั้ง/สัปดาห์ โดยสั่งซื้ออาหารผ่านแอปพลิเคชันร้านสะดวกซื้อ 7-11 มีค่าใช้จ่ายในการซื้อแต่ละครั้งประมาณ 301-500 บาท (2) ปัจจัยประชากรศาสตร์ด้านสถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษารายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสั่งซื้ออาหารทางออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ภาพรวมปัจจัยส่วนประสมการตลาด ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่ายและการส่งเสริมการขายมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสั่งซื้ออาหารทางออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริการจัดส่งสินค้าth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectอาหาร--การขนส่งth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการซื้ออาหารทางออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลth_TH
dc.title.alternativeFactors relating online food purchase of generation Y consumers in greater Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study (1) food purchase behavior of Generation Y consumers towards online food purchase decisions; (2) the relationship between demographic factors and online food purchase behavior; and (3) the relationship between marketing mix factors and online food purchasing behavior. This study was quantitative research. The population was 3,285,708 Generation Y customers who were between the ages of 21 and 41, lived in Greater Bangkok and have purchased food online. Taro Yamane's Formula was used to compute the sample group size of 400 people. Samples were chosen through convenience sampling. A questionnaire was used as a data collection tool. Statistical data analysis include frequency, percentage, mean, standard deviation, and the Chi-square test. The findings revealed that (1) most of the respondents ordered online food for 2-3 times/week by ordering foods via the application of 7-11 convenience store. Each purchasing expense was approximately 301-500 Baht. (2) The demographic factors of Generation Y customers in terms of status, occupation, educational level, and average monthly income, were related to online food purchase behavior at a statistical significance level of 0.05. (3) The overall of marketing mix factors consisted of product, price, distribution channel, and sales promotion, were related to online food purchase behavior at a statistical significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168538.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons