Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณภา โพธิ์น้อย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุจิตรา หังสพฤกษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุนันท์ พรหมประกอบ, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T04:44:18Z-
dc.date.available2022-08-27T04:44:18Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1137-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยทาง สังคมของนักศึกษาอาชีวศึกษา 2) ศึกษาความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมของนักศึกษาอาชีวศึกษา 3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยทางสังคมกับความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคมของนักศึกษาอาชีวศึกษากลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาอาชีวศึกษาสังกัดคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาจังหวัดพิจิตร จํานวน 374 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชายร้อยละ 54.28 เป็นบุตรลําดับที่ 1 ร้อยละ 44.11 ศึกษาอยู่ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ร้อยละ 26.20 มีผลการเรียนระหว่าง 2.01–3.00 ร้อยละ 58.82 ลักษณะครอบครัวพบว่า มาจากครอบครัวเดี่ยวร้อยละ 93.90 มีรายได้น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 50.33 มีการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยร้อยละ 83.69 กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า บิดา มารดามีความรับผิดชอบต่อตนเองและครอบครัวในระดับมาก ร้อยละ 76.21และ 64.18 ตามลําดับ และมี ความรับผิดชอบต่อสังคมในระดับปานกลาง ร้อยละ 53.74 สถานศึกษาครูอาจารย์และศาสนามีส่วนปลูกฝัง ความรับผิดชอบต่อตนเองของนักศึกษามากร้อยละ 58.29 59.95 และ 67.10 ตามลําดับ และมีส่วนปลูกฝัง ความรับผิดชอบต่อสังคมของนักศึกษามากเช่นกัน ร้อยละ 53.74 58.56 และ 52.94 ตามลําดับ จากการศึกษา เกี่ยวกับความรับผิดชอบของนักศึกษาพบว่า นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ( = 3.23 และ 3.31 ตามลําดับ) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรับผิดชอบต่อตนเองของนักศึกษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ผลการเรียน การอบรมเลี้ยงดู การปฏิบัติตนของบิดามารดาเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม เพื่อน และสื่อมวลชน ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรับผิดชอบ ต่อสังคมของนักศึกษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ เพศ การอบรมเลี้ยงดูการปฏิบัติตนของบิดา มารดาเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม ครูอาจารย์ เพื่อน ศาสนา และสื่อมวลชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.272-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักศึกษาอาชีวศึกษาth_TH
dc.subjectความรับผิดชอบต่อสังคมth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมของนักศึกษาอาชีวศึกษาth_TH
dc.title.alternativeFactors related to self and social responsibility of vocational studentsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.272-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study personal factors, family factors, and social factors of vocational students; 2) to study self and social responsibility of vocational students; 3) to find out relationships among personal factors, family factors, social factors, and self and social responsibility of vocational students. Samples were 374 vocational students under the Office of Vocational Commission Pichit Province, who were selected by a simple random sampling technique. Instruments used for this research were questionnaires constructed by the researcher. Data were analyzed using computer program SPSS. Statistics used for data analysis were percentage, means, standard deviation and chi-square. The research findings were as follows: the majority of the samples were males (54.28 %), were the first child in the family (44.11%), were second year vocational students (26.20%), earned grade point average between 2.01-3.00 (58.82%), came from single family (93.90%), which had incomes less than or equal to 5,000 baht a month (50.33%), were brought up by democratic style rearing practices (83.69%). The samples thought that their parents were responsible for themselves and the family at the high level (76.21% and 64.18 respectively) and they were responsible for society at the moderate level (53.74%). They thought that education institutions, teachers, and religion had instilled in them self responsibility at the high level (58.29%, 59.95%, and 67.10% respectively), and had instilled in them social responsibility at the high level as well (53.74%, 58.56%, and 52.94 % respectively). As for the study of students’ responsibility, it was found that as a whole, students had self and social responsibility at the high level ( = 3.23 and 3.31 respectively). Factors related to students’ self responsibility at 0.05 statistical significance level were study results, rearing practices, performance of their parents regarding self and social responsibility, friends, and mass media. Factors related to students’ social responsibility at 0.05 statistical significance level were sex, rearing practices, performance of their parents regarding self and social responsibility, teachers, friends, religion and mass mediaen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83667.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons