Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณิษา ชื่อมี, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T04:07:15Z-
dc.date.available2024-02-02T04:07:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11381-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิผลองค์การกับระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลองค์การกับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (3) เสนอแนะเกี่ยวกับประสิทธิผลองค์การกับหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ บุคลากรกลุ่มงานศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด 20 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวนทั้งหมด 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ได้แก่ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า (1) ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีระดับประสิทธิผลองค์การและระดับธรรมาภิบาล อยู่ในระดับสูงมาก (2) หลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับประสิทธิผลองค์การในการบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 (3) ข้อเสนอแนะด้านปัจจัยประสิทธิผลองค์การและข้อเสนอแนะด้านปัจจัยธรรมาภิบาล ประกอบด้วย การจัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนและนำมาปรับปรุงการทำงาน การจัดประชุมติดตามเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ที่สามารถยุติเรื่องได้ภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนด การติดตามงานและรายงานผู้บังคับบัญชาและผู้ร้องทราบเป็นระยะ การปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการเปิดเผยข้อมูลตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectธรรมาภิบาลth_TH
dc.subjectการบริหารองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลในการบริหารจัดการ เรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของศูนย์ดำรงธรรมจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeRelationship between good governance and effectiveness in complaint management of Provincial Damrongdhama Centers in the Northeasten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to: (1) study the level of organizational effectiveness in managing complaints of the Damrongdhama Center in the Northeast, (2) the relationship between organizational effectiveness and good governance in the management of complaint of the Damrongtham Provincial Center in the Northeast and (3) recommendations about the effectiveness of the organization and principles of good governance in the management of complaints of the provincial Damrongdhama Center in the northeast. This study was a quantitative research. The population in the study was the personnel in working group of Provincial Damrongdharma Center in 20 provinces in the Northeast, total 160 people. The tool for data collection was a questionnaires. And data analysis used descriptive statistics such as percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics such as Pearson correlation coefficient statistics. The results of the study found that: (1) Provincial Damrongtham Center in the Northeast had the levels of the organizational effectiveness. and the good governance were at a very high level, (2) The good governance has a positive relationship with the organizational effectiveness in managing complaints of the Damrongtham Provincial Center in the northeast with a statistically significant level of 0.01. (3) Recommendations on factors of the organizational effectiveness and the good governance consisted of: conducting a satisfaction questionnaire for people and bringing its result to improve a work, meeting to follow up on complaints/grievances for being able to settle within the specified time frame, following up and reporting to supervisors and petitioners periodically, operating with transparency, accountability, and disclosure of information in accordance with the Government Information Act B.E. 2540en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168653.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons