Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิงครัต ดลเจิมth_TH
dc.contributor.authorเมธานีย์ ผิวหลง, 2536-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-02-02T07:09:10Z-
dc.date.available2024-02-02T07:09:10Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11389en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับการกำหนดโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดบทลงโทษทางอาญาตามมาตรฐานสากล กฎหมายต่างประเทศและประเทศไทย (3) ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในการกำหนดบทลงโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (4) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาการกำหนดบทลงโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร เป็นสำคัญ ซึ่งเป็นการศึกษาข้อมูลจากบทบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รายงานการวิจัย หนังสือวิชาการ วิทยานิพนธ์ บทความ วารสาร เอกสารต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ผลการศึกษา พบว่า (1) ตามแนวคิดทฤษฎีการกำหนดโทษทางอาญา มีหลักการพื้นฐานว่าการลงโทษทางอาญาต้องไม่ก่อให้เกิดภาระแก่การดำเนินกระบวนการยุติธรรมจนเกินขอบเขต และมาตรการลงโทษทางอาญาต้องใช้กับกรณีที่ไม่มีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกว่าการลงโทษทางอาญาเท่านั้น (2) ตามกฎหมายไทยมีการกำหนดบทลงโทษของเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ที่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหาย หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตไว้ในประมวลกฎหมายอาญาซึ่งเป็นบททั่วไป และยังกำหนดบทลงโทษไว้ในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 อันเป็นบทเฉพาะอีกด้วย ต่างกับกฎหมายต่างประเทศที่กำหนดบทลงโทษกรณีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริตไว้ในประมวลกฎหมายอาญาแต่เพียงอย่างเดียว มิได้นำความผิดดังกล่าวมาบัญญัติซ้ำในบทกฎหมายเฉพาะฉบับอื่น ๆ (3) การกำหนดโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 มีลักษณะเป็นการกำหนดความผิดทางอาญามากเกินความจำเป็น ก่อให้เกิดสภาวการณ์กฎหมายอาญาเฟ้อ (4) เห็นควรให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมการกำหนดบทลงโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ในมาตรา 120 โดยยกเลิกโทษอาญาและเห็นสมควรให้ใช้โทษปรับทางปกครอง และแนวคิดค่าเสียหายเชิงลงโทษมาใช้แทน เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectพนักงานเจ้าหน้าที่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleปัญหาทางกฎหมายในการกำหนดบทลงโทษของเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐth_TH
dc.title.alternativeLegal problems of Punishment of Officers under the Public Procurement and Supplies Administration Acten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study to study the concepts, (1) theories and basic principles concerning the determination of penalties for officials under the Government Procurement and Supplies Administration Act. (2) Study the legal measures related to the imposition of criminal penalties according to international standards under foreign law and Thai Law (3) Study and analyze Legal problems of Punishment of Officers under the Public Procurement and Supplies Administration Act (4) Suggesting guidelines for solving Legal Problems of Punishment of Officers under the Public Procurement and Supplies Administration Act. This independent study is a documentary research. which is a study of information from the relevant legal provisions research report Academic books, thesis, articles, journals, documents, including information from various electronic media. The findings revealed that (1) The concept of criminal punishment theory is a basic principle that, criminal penalties must not impose an excessive burden on the judicial process and criminal sanctions only apply to cases where there is no more suitable alternative than criminal punishment. (2) Under Thai law penalties are imposed on officials in procurement-related proceedings or parcel management who performs or neglects to perform duties wrongfully to cause damage or perform or refrain from performing duties dishonestly in the Criminal Code, which is a general chapter and also stipulates penalties in the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2017 which is a specific law. It is different from foreign laws that stipulate penalties for officials acting or refraining from performing duties illegally or dishonestly in the Criminal Code alone. which did not bring such an offense to be re-enacted in other specific laws. (3) The Punishment of Officers under the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2017 is characterized as requiring the actions of the officials involved with procurement and supplies management is a crime more than necessary, bring about to Over – criminalization. (4) The study authors agreed that there should be amended article 120 of the Punishment of Officers under the Public Procurement and Supplies Administration Act B.E. 2017 by abolishing criminal penalties and deemed appropriate to impose administrative fines other compulsory measures and the concept of punitive damages to use instead to make law enforcement more effectiveen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168804.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons