Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11403
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธิติพัฒน์ เอี่ยมนิรันดร์ | th_TH |
dc.contributor.author | เชิด ด้วงไพรี, 2504- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T08:06:58Z | - |
dc.date.available | 2024-02-05T08:06:58Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11403 | en_US |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การสื่อสารอัตลักษณ์บุคคล 2) การสื่อสารอัตลักษณ์ผลงานและ 3) การสื่อสารอัตลักษณ์ทางสังคมของศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ด้านจิตรกรรมผลการวิจัยพบว่า ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ด้านจิตรกรรม มี 1) การสื่อสารอัตลักษณ์ด้านบุคคลของตนเองดังนี้ (1.1) การเข้าถึงแก่นของงานอย่างลึกซึ้งและพัฒนาทักษะในการวาดภาพต่อเนื่อง (1.2) มีความเชื่อว่าศิลปะยกระดับจิตใจ รักศิลปะและชอบวาดภาพ (1.3) ศิลปินพูดหรือเขียนตามผลงานที่ทำ (1.4) ใช้น้ำเสียงเปล่งเป็นภาษาว่ารู้จริง (1.5) ศิลปินใช้มือแสดงท่าทาง (1.6) มีอารมณ์ละเอียดอ่อน สุนทรียะลึกซึ้ง ซ่อนอยู่ภายในจิตใจ (1.7) แต่งกายมีเอกลักษณ์ของตนเองตามความเชื่อ (1.8) ดำเนินชีวิต ด้วยการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2) การสื่อสารอัตลักษณ์ผลงาน คือ (2.1) ผลงานไม่จำกัดขนาดวัสดุ และสี (2.2) การสื่อความหมายเป็นนามธรรม คือ แสดงความรู้สึกออกมาเป็นภาพสัญลักษณ์ที่พัฒนามาจากของจริง (2.3) ความคิดและการสร้างสรรค์ผลงานมาจากความเชื่อเรื่อง ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพุทธศาสนา (2.4) หลักการจัดภาพมีการแสวงหาตัวตนและออกนอกกรอบของทฤษฎี (2.5) รูปทรงในภาพมีการดัดแปลงจากธรรมชาติ และใช้รูปทรงเรขาคณิต (2.6) การระบายสีแบบผสมผสานทั้งการเกลี่ยเรียบและทิ้งร่องรอย การใช้โทนสีกำหนดจากเรื่องราว เนื้อหาและอารมณ์ 3) การสื่อสารอัตลักษณ์ทางสังคม คือ (3.1) การจัดทำเป็นหนังสือเล่มสิ่งพิมพ์เผยแพร่ การให้สัมภาษณ์ การบรรยาย ใช้สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อออนไลน์ สื่อป้ายโฆษณาหลากหลายทั้งรูปแบบและวัสดุ (3.2) กระบวนการแสดงผลงานที่สำคัญคือ การวางแผนด้านสถานที่ ภาพผลงานจิตรกรรมสูจิบัตร แสดงผลงานเดี่ยว 7-8 ครั้ง จำนวนผลงานแต่ละครั้ง 60-90 ผลงาน ไม่ได้ทำประชาสัมพันธ์เองกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ชมผลงานทุกคน ไม่มีการประเมินผลการแสดงผลงานอย่างเป็นทางการ หลังจากเป็นศิลปินแห่งชาติแล้วมีช่องทางการแสดงผลงานในสื่อออนไลน์เพิ่มมากขึ้น (3.3) การเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ด้านจิตรกรรม จะต้องมีการเสนอผลงานตามเกณฑ์การตัดสิน และการนำเสนอผลงานเพื่อเป็นศิลปินแห่งชาติโดยผู้อื่นเป็นหลัก และมีแนวโน้มที่จะนำเสนอผลงานได้ด้วยตนเอง โดยไม่มีเงื่อนไขของเพศ และอายุ มีการสื่อสารอัตลักษณ์จากผลงานจิตรกรรมที่ต้องสร้างสรรค์ ให้ผลงานสื่อสารตัวเอง มีบุคลิกเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง มีการแสดงผลงานจิตรกรรมสู่สังคมอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | th_TH |
dc.subject | ศิลปินแห่งชาติ | th_TH |
dc.subject | อัตลักษณ์ | th_TH |
dc.title | การสื่อสารอัตลักษณ์ของศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ด้านจิตรกรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Identity communication of National Artist in the painting category of Visual Arts | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the personal identity communication; 2) the artwork identity communication; and 3) the social identity communication of selected National Artists in the field of visual arts (painting). This was a qualitative research. The key informants were 10 National Artists in the field of visual arts (painting), chosen through purposive sampling. The research tool was a semi-structured interview form. Research methods were in-depth interviews, observation, and artwork analysis of 20 paintings. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that 1) National Artists’ personal identity communication consisted of: reaching the core of work deeply and continuously developing painting skills; believing that art elevates the spirit, loving art and loving painting; speaking or writing according to one’s artwork; using speech and a tone of voice that emanates authenticity and certainty; using hand gestures and body language; having emotional sensitivity and a profound aesthetic sense hidden inside; dressing in a unique style that fits with one’s beliefs; and living a life that includes creating new paintings continuously. 2) Artwork identity communication consisted of: no limits on size, materials or colors; abstract communication of meaning by expressing feelings through symbols that were developed from reality; ideas and creations that came from beliefs about nature, the environment and Buddhism; composition principles involved a search for self and expanding beyond the bounds of theory; shapes and forms in the paintings were adapted from nature and geometrical shapes were utilized; coloring techniques included both smooth, even mixing of shades and also rough brushstrokes; the tones used were determined by the subject, theme and mood of the painting. 3) Social identity communication consisted of: making books, other publications, giving interviews and public lectures, appearing on TV or radio, using online media, and using many different kinds of print advertisements; the exhibition process, consisting of planning the venue, the paintings, the brochure, including 7-8 solo exhibitions with 60-90 works at each; the artists did not publicize the exhibitions themselves; the target audience was general viewers; no formal evaluation was made of the exhibitions; after the artists were recognized as National Artists they gained more online channels to exhibit their works; to be a National Artist in the field of painting, the artists had to submit paintings to be judged according to the requirements or have their works nominated by others, with no restrictions on gender or age. National Artists communicated their identity through the artworks they created, having the painting communicate themselves with their unique personality. They showed their work to the public regularly and continuously | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วิทยาธร ท่อแก้ว | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | สกนธ์ ภู่งามดี | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156501.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License