Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปาระมี เกตุภูวงษ์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-05T08:53:04Z-
dc.date.available2024-02-05T08:53:04Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11407-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลอง ของนักเรียนดังกล่าว และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลอง ของนักเรียนดังกล่าว ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนโดยวิธีการสอนแบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียน โดยวิธีการสอนแบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--กาฬสินธุ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectสถานการณ์จำลอง (การสอน)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้กับวิธีใช้สถานการณ์จำลอง เรื่องแรงและความดันที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคำเหมือดแก้วบำเพ็ญวิทยา จังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeThe effect of learning management integrating the between inquiry and simulation methods in the topic of force and pressure on the learning achievement and science problem solving ability of Prathom Suksa students at Kammuard Kaewbumpen Wittaya School in Kalasin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare science learning achievements of Prathom Suksa V students before and after learning under learning management integrating between the inquiry and simulation methods in the topic of Force and Pressure; (2) to compare science problem solving abilities of the students before and after learning under learning management integrating between the inquiry and simulation methods; and (3) to study the relationship between science learning achievement and science problem solving ability of the students after learning under learning management integrating between the inquiry and simulation methods. The research sample consisted of 36 Prathom Suksa V students in an intact classroom of Kammuead Kaewbumpen Wittaya School in Kalasin province, obtained by cluster random sampling. The research instruments were (1) a science learning achievement test; (2) a science problem solving ability test; and (3) learning management plans for the learning management integrating between the inquiry and simulation methods in the topic of Force and Pressure. Data were analyzed using the mean, standard deviation, t-test, and Pearson product moment correlation. The findings were as follows: (1) the post-learning science learning achievement of the students after learning under learning management integrating between the inquiry and simulation methods was significantly higher than their prelearning counterpart achievement at the .05 level; (2) the post-learning science problem solving ability of the students after learning under learning management integrating between the inquiry and simulation methods was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level; and (3) the students’ science learning achievement and their science problem solving ability correlated positively and significantly at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156539.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons