Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1141
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรพร เสี้ยนสลาย | th_TH |
dc.contributor.author | อัจฉรา ภูระธีระ, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-27T06:13:45Z | - |
dc.date.available | 2022-08-27T06:13:45Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1141 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (คศ.ม. (การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวัดระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่น และวัดระดับการปฏิบัติจริงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่นของบิดา (2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่นที่มีปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางครอบครัวแตกต่างกัน (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางครอบครัวของบุตรวัยรุ่นกับ ความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดา และ (4) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่นกับระดับการปฏิบัติจริงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่นของบิดา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ในอําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2546 จํานวน 396 คน ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบหลายขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่น อยู่ในระดับสูงทั้งในภาพรวมและรายด้าน (2) ระดับการปฏิบัติจริงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรของบิดาตามการรับรู้ของบุตรวัยรุ่นในภาพรวมอยู่ในระดับสูง แต่การปฏิบัติจริงในด้านการดูแลสุขภาพ ด้านการสนับสนุนทางอารมณ์ และด้านส่งเสริมการเรียนรู้อยู่ในระดับปานกลาง (3) ระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่นที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความเชื่อมั่นในตนเอง ความรับผิดชอบ ระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยและระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยที่แตกต่างกัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความรับผิดชอบของบุตรวัยรุ่นระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยและระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย สามารถร่วมกันทํานาย ความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่นได้ร้อยละ 32.2 และ (5) ระดับความคาดหวังต่อบทบาทในการอบรมเลี้ยงดูของบิดาของบุตรวัยรุ่นกับระดับการปฏิบัติจริงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรของบิดามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.102 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วัยรุ่น--การดูแล | th_TH |
dc.subject | วัยรุ่น--การอบรมเลี้ยงดู | th_TH |
dc.title | ความคาดหวังของบุตรวัยรุ่นตอนต้นและการปฏิบัติจริงในการอบรมเลี้ยงดูบุตรวัยรุ่นของบิดาในอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Expectaions [i.e. expectations] of the early adolescents and the actual practices on child rearing ot the fathers in mueng district of Surin Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.102 | - |
dc.degree.name | คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the study were (1) to measure the level of the expectation for the father’s role on child care of the early adolescence; (2) to measure the level of the actual practice on child care of the father; (3) to compare the levels of the expectation for the father’s role on child care among groups of the adolescence who have different personal and family characteristics; (4) to study the relationships between the adolescences’ personal and family factors with their expectations for the father’s role on child care; and (5) to compare the adolescences’ expectation for the father’s role on child care with the actual practice on child care of the father. The research sample was the 396 students who studied in M.S. 1-3 of B.E.2003 academic year in the secondary schools, undered the Office of the Basic Education commission, Ministry of Education in Mueng district of Surin province. The Data were collected by a questionnaire and analyzed by using the statistics, such as percentage, means, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and stepwise multiple regression. The results of this study were (1) the level of the expectation for the father’s role on child care of the early adolescence towards child care of father was totally high; (2) the level of the actual practice on child care of father was totally high, however, the actual practice on health care, emotional support and learning support was about average; (3) the level of the expectation for the father’s role on child care of the early adolescence which effected several factors including learning effectiveness, self-confidence and responsibility, the level of democratic child care and the level of negligent child care were significantly different at .05; (4) learning effectiveness and responsibility of the adolescence, the level of democratic child care and the level of negligent child care could be put together to predict the expectation for the father’s role on child care of the early adolescence at about 32.2 percent; and (5) the level of the expectation for the father’s role on child care of the early adolescence and the level of the actual practice on child care of the fathers were significantly different at .05. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชินรัตน์ สมสืบ | th_TH |
Appears in Collections: | Hum-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext 83790.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License