Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11422
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ ศรีดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพีรยุทธ โอรพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเมธาวิน สาระยาน, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-06T07:23:55Z-
dc.date.available2024-02-06T07:23:55Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11422-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออภิปรายความเชิงวิพากษ์ภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค 6 ตอนอวสานหงสาในเรื่อง 1) อุดมการณ์ทางการเมือง 2) การสื่อสารเรื่องอำนาจการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบหลังนวสมัย เกี่ยวข้องกับการตีความ โดยใช้การวิเคราะห์ตัวบทบริบทและสัมพันธบท เป็นกรอบในการศึกษาแต่ละองค์ข้อมูล ที่ได้จากเนื้อความภาพยนตร์ฯ แล้วนำมาอธิบายโดยใช้การตีความหมายด้วยการวิเคราะห์การอภิปรายความเชิงวิพากษ์ ซึ่งต้องอาศัยหลักการโต้ตอบข้ามสาขา แล้วนำไปสู่การเชื่อมโยงความสัมพันธ์จากมุมมองของผู้วิจัยเพื่อได้ความคิดที่เป็นตัวแทนเรียกว่าการจัดหมวดหมู่ไปสู่การอภิปรายความที่สะท้อนสภาพของสังคมผลการวิจัยพบว่า 1) อุดมการณ์ทางการเมืองที่ปรากฏในภาพยนตร์ฯ เป็นอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการ คือ เป็นอุดมการณ์ทางการเมืองให้ความชอบธรรมในการใช้อำนาจของชนชั้นปกครองโดยมีลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช คือ กษัตริย์มีสิทธิ์ขาดในการบริหารและมีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ มีการมอบหมายความไว้วางใจทั้งหมดให้กับกษัตริย์ เนื่องจากเชื่อว่ากษัตริย์นั้นเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเทพเจ้าและเป็นผู้ที่มีอำนาจและสิทธิ์เหนือประชาชนทุกคนตามแนวคิดของระบบเทวสิทธิ์ นอกจากนั้นยังพบว่าในภาพยนตร์ฯ ยังสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะของกษัตริย์ที่เป็นธรรมิกราช คือ กษัตริย์ที่ปกครองโดยอาศัยธรรมะตามหลักพุทธศาสนา คือ หลักทศพิธราชธรรม และจักรวรรดิวัตร ควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเข้มแข็งและความสงบสุขให้กับแผ่นดินและ 2) การสื่อสารเรื่องอำนาจที่ปรากฏในภาพยนตร์ฯ นั้น สามารถจำแนกอำนาจออกเป็น 3 แบบ คือ (1) อำนาจจารีต มีลักษณะสำคัญคือการสืบทอดการใช้อำนาจต่อเนื่องกันมาของกษัตริย์ ส่วนผู้ถูกปกครองได้ยินยอมและยอมรับในการอยู่ภายใต้การใช้อำนาจนั้นๆ (2) อำนาจบารมี มีลักษณะสำคัญอยู่ที่ตัวผู้นำที่มีลักษณะพิเศษของผู้นำที่แตกต่างไปจากบุคคลธรรมดา หรือมีความสามารถเหนือธรรมชาติ และ(3) อำนาจตามกฎหมาย มีลักษณะสำคัญอยู่ที่การมุ่งเน้นการใช้กระบวนการทางการเมือง หลักการและบัญญัติแห่งกฎหมายเป็นสำคัญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการสื่อสารทางการเมืองth_TH
dc.subjectภาพยนตร์ไทย--วิจารณ์th_TH
dc.titleการอภิปรายความเชิงวิพากษ์ภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวร ภาค 6 ตอนอวสานหงสาth_TH
dc.title.alternativeCritical discourse on the Thai Film "The Legend of King Naresuan the Great part 6: Awasan-hongsa"en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to critically discuss the film “The Legend of King Naresuan the Great. Part 6: Awasan-hongsa” concerning (1) political ideals expressed in the film; and (2) communication about power. This was a post modernism research built on interpretation of a period film, in which textual analysis, context analysis and intertextuality were used as the framework for studying all the components of data derived from the film. The data were discussed and interpreted through the process of critical discourse, which required multidisciplinary discussion, leading to the discovery of links and correlations in the view of the researcher to arrive at representative ideas, or in other words, classification led to a discourse that reflects social conditions. The results showed that 1) the main political ideal expressed in the film was the ideal of dictatorship. It legitimized the use of power by the ruling class back in the time of absolute monarchy. The monarch had the sole and undisputed right to rule the kingdom freely as he saw fit, and had complete control over his subjects. All authority was entrusted to the king because people believed he was invested by deities with a royal mandate to rule. The king had special power above all other people under the Theory of the Divine Right. The film portrayed the king under the Dhammaraja concept, meaning a king who ruled as a good Buddhist ruler, following the “Tosapit Rajadhamma” or Ten Royal Virtues and the “Jakrwatdiwat” or Twelve Imperial Doctrines, which was to insure the strength, peace and happiness of the kingdom. 2) Communication regarding power in the film can be divided into 3 types of power: (1) customary power, characterized by an hereditary passing down of power in the monarchy, while the citizens under power consented to and accepted being under that power; (2) prestige power, characterized by the extraordinary status of the king, which was above all other people or even supernatural; and (3) legal power, characterized by the use of the political process, legal principles and written lawsen_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157077.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons