Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีรักษ์ มีแจ้งth_TH
dc.contributor.authorอุทุมพร แก้วภู่, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-12T03:06:35Z-
dc.date.available2024-02-12T03:06:35Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11449en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบอรรถลักษณะ และ (2) ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 25 คน ของโรงเรียนสุมานัน จังหวัดสมุทรปราการ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) คะแนนเฉลี่ยความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียน โดยใช้การสอนแบบอรรถลักษณะสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การเขียน--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สมุทรปราการth_TH
dc.subjectความพอใจth_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบอรรถลักษณะ ที่มีต่อความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษ และความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeThe effects of learning management using the genre-based teaching approach on English writing ability and learning satisfaction of Prathom Suksa VI students under Samut Prakan Provincial Education Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare English writing ability of students Prathom Suksa VI before and after learning under the genre – based teaching approach; and (2) study the satisfaction in learning of Prathom Suksa VI students. The research sample consisted of 25 Prathom Suksa VI students at Sumanan School in Samutprakarn province during the second semester of the 2017 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research tools were (1) genre – based learning management plans, (2) an English writing ability test, and (3) a questionnaire to assess the satisfaction with learning. The data was analyzed by using the mean, standard deviation and t- test The research findings showed that (1) the post-learning mean score on English writing ability of Sumanan School students was significantly higher than its pre-learning counterpart at the .05 level of statistical significance; and (2) the overall satisfaction in the learning of Prathom Suksa VI students was at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorศิตา เยี่ยมขันติถาวรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159463.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons