Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11453
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันทัด ทองรินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริวรรณ อนันต์โท, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพนา ทองมีอาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรรพัชญ์ เจียระนานนท์, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-12T03:33:46Z-
dc.date.available2024-02-12T03:33:46Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11453-
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.(นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) นโยบายและมาตรการส่งเสริมละครโทรทัศน์ไทยกับการเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 2) กลยุทธ์สร้างสรรค์ละครโทรทัศน์ไทยกับการเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ 3) ปัจจัยสนับสนุนการสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์ไทยกับการเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ และ 4) แนวทางการพัฒนารูปแบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของละครโทรทัศน์ไทยผลการวิจัย พบว่า 1) ด้านนโยบาย ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องและมีความเป็นไปได้ในประเด็นที่รัฐบาลควรกำหนดการผลิตละครโทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งในโครงสร้างระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยมีมาตรการ คือ การส่งเสริมและพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของผู้ผลิตละครโทรทัศน์ไทยร่วมกับสถาบันการศึกษาหรือการจัดตั้งหน่วยงานสถาบันการวิจัยพัฒนาและอบรมเฉพาะด้าน การเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการขอรับการสนับสนุนการจูงใจในรูปแบบต่างๆ การส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ การรวมกลุ่มกันเพื่อส่งเสริมให้มีการผลิตละครโทรทัศน์ที่มีคุณภาพและมีความหลากหลาย 2) ด้านกลยุทธ์ ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องและมีความเป็นไปได้ในประเด็นการนำเสนอโครงเรื่องที่แปลกใหม่ การพัฒนานักเขียนบทละคร การสนับสนุนเงินทุน การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการผลิต การแสดง การสื่อสาร ภาษาและวัฒนธรรม การวางกลยุทธ์ทางการตลาดร่วมกัน การสร้างภาพลักษณ์ประเทศผ่านละครโทรทัศน์ การปรับปรุงรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาที่สอดคล้องกับอายุของผู้ชม 3) ด้านปัจจัยสนับสนุนการสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์ไทย ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องและมีความเป็นไปได้ในประเด็น การมีแผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมละครโทรทัศน์ที่ชัดเจนการคัดเลือกละครโทรทัศน์ที่มีเนื้อหาในการส่งเสริมวัฒนธรรมไทย การกำหนดพื้นที่ของกลุ่มเป้าหมายเพื่อกำหนดเนื้อหาที่เหมาะสมกับข้อกำหนด วัฒนธรรม ศาสนา และค่านิยมในสังคมของแต่ละประเทศ 4) ด้านแนวทางการพัฒนารูปแบบอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของละครโทรทัศน์ไทย ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องและมีความเป็นไปได้ในประเด็น การพัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ การส่งเสริมและพัฒนาตลาดละครโทรทัศน์ไทยที่มีคุณภาพ การส่งเสริมการจัดจำหน่ายและเผยแพร่ในทุกระดับ การปกป้องและคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา การส่งเสริมความร่วมมือในการลงทุนระหว่างประเทศ การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการหน่วยงานภาครัฐ การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเป็นศูนย์กลางของเอเชียและสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาละครโทรทัศน์ไทยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectละครโทรทัศน์th_TH
dc.subjectละคร--ไทยth_TH
dc.subjectโทรทัศน์--การผลิตและการกำกับรายการth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาละครโทรทัศน์ไทยกับการเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์th_TH
dc.title.alternativeGuideline to develop Thai television drama production into creative industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) policies and support measures to develop the Thai television drama production industry as a creative industry; 2) creative strategies for developing Thai television drama production as a creative industry; 3) support factors for developing Thai television drama production as a creative industry; and 4) creative industry model approaches for developing Thai television drama production. This is a forecasting research using the Delphi technique. The experts questioned were stakeholders in the television industry or creative industry with 3-5 years’ work experience, consisting of a total of 20 experts from 4 groups: government sector, entrepreneurs at the policymaking level, producers and exporters of Thai television dramas, and academics in the fields of communication arts and economy. They were chosen through purposive sampling. Data were collected using questionnaires and analyzed using median, mode, and interquartile range. The results showed that 1) For policy questions, the experts were in agreement and considered it feasible that the government should include television drama production in the creative economy structure. The measures to implement this should be to develop the skills, knowledge and capabilities of television drama producers in conjunction with academic institutions or by establishing a specialized research, development and training institute for that purpose. Entrepreneurs should be supported in the form of incentives, and their ability to compete in both the domestic and international markets should be promoted. Collaboration should be encouraged in order to increase the quality and diversity of the production. 2) As for strategies, experts were in agreement about the feasibility of introducing innovative plots; developing script writers; providing funding; exchanging knowledge about production, acting, communication, language and culture; jointly planning marketing strategies; undertaking image building for the nation through television dramas; and adjusting presentation formats to better match different age groups of viewers. 3) As for the supporting factors, experts were in agreement about the feasibility of several items: having a clear strategic plan to develop the television drama production industry, selecting programs with content that promotes Thai culture, and setting target markets in order to choose appropriate content that is compatible with the culture, religions and social values of each market. 4) On the question of developing Thai television drama production as a creative industry, the experts had similar views about these possibilities: developing the professionalism of personnel, developing and promoting quality markets for Thai television dramas, supporting sales and distribution at every level, protecting intellectual property rights, supporting cooperation in international investments, developing the management of related government agencies, developing infrastructure so Thailand can be a center in Asia, and supporting research to develop Thai television drama production.en_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159474.pdfเอกสารฉบับเต็ม28.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons