Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพรัตน์ อักษรพรหม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดรุณี นาทะศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorตรีสุคนธ์ มาลีแก้ว, 2472--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-27T06:33:32Z-
dc.date.available2022-08-27T06:33:32Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1146-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คศ.ม.(การพัฒนาครอบครัวและสังคม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติต่อการเลี้ยงดูของครอบครัวของนักเรียน วัยรุ่นตอนต้นที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 442 คน โดยการเลือกแบบการสุ่มหลายชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) วัยรุ่นตอนต้นมีทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับดี (X = 3.54) โดยเฉพาะข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือการเชื่อถือและไว้วางใจพ่อแม่ (X = 4.25) (2) วัยรุ่นตอนต้นที่มีเพศต่างกันมีทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวดีกว่าเพศชาย (3) วัยรุ่นตอนต้นที่มีผลการเรียนต่างกันมีทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนที่มีเกรดสูงมีทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวดี กว่านักเรียนที่มีผลการเรียนตํ่าและ (4) วัยรุ่นตอนต้นที่มีอายุของบิดาต่างกันมีทัศนคติต่อการอบรม เลี้ยงดูจากครอบครัวแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.103-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัยรุ่น--ทัศนคติth_TH
dc.subjectวัยรุ่น--การอบรมเลี้ยงดูth_TH
dc.titleการศึกษาทัศนคติต่อการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัวของวัยรุ่นตอนต้นในสังกัดโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeA study ot family socialization attitudes of the early adolescents who study at secondary school in Bangkokth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2003.103-
dc.degree.nameคหกรรมศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the family socialization attitudes of the early adolescents studying at the secondary schools in Bangkok. The research samples consisted of 442 secondary school students in Bangkok, selected by using multi-stages random sampling technique. The instrument of this study was a questionnaire developed by the researcher. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t-test. Research findings revealed that (1) the overall family socialization attitudes of the early adolescents were at a good level (X = 3.54), especially the item about "trusting parents" with the highest mean (X = 4.25); (2) the family socialization attitudes of different scale of early adolescents were significantly different at the .05 level which female adolescents had better family socialization attitudes than male adolescents; and (3) the family socialization attitudes of the early adolescents with different learning achievement were significantly different at the .05 level which high grade student had better family socialization attitudes than those with low grade; and (4) the family socialization attitudes of the early adolescents whose fathers had different ages were significantly different at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext 83791.pdfเอกสารฉบับเต็ม937.65 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons