Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิตา เยี่ยมขันติถาวรth_TH
dc.contributor.authorอรารัตน์ ก้อนจำปา, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-15T06:49:57Z-
dc.date.available2024-02-15T06:49:57Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11484en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้เพลงและเกม และ (2) เปรียบเทียบความรู้ด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อน และหลังการเรียนรู้โดยใช้เพลงและเกม กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวนาหลวง อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 20 คน ได้มาโดยการ สุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเพลงและ เกม แบบทดสอบความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษ และแบบทดสอบความรู้ด้านคำศัพท์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบผลการเรียนรู้คำศัพท์ ภาษาอังกฤษหลังเรียนโดยใช้ t-test ผลการวิจัยพบว่าความสามารถทางการพูดภาษาอังกฤษ ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมเพลงและเกม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และความรู้ด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลัง เรียนโดยการใช้กิจกรรมเพลงและเกม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการใช้เพลงและเกมที่มีต่อความสามารถในการพูดและความรู้ด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านวนาหลวงจังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using songs and games on English speaking ability and English vocabulary learning of Prathom Suksa VI students at Ban Wanaluang School in Mac Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the effects of using songs and games on English speaking ability of prathom suksa VI students before and after learning by using song and games; and (2) to compare the effects of using songs and games on English vocabulary Learning of prathom suksa VI students before and after learning by using song and games The research sample consisted of 20 Prathom Suksa VI students of Ban Wanalaung School in Mae Hong Son Province during the first semester of the 2017 academic year, obtained by cluster sampling. The instruments used in this study were lesson plans by using songs and games, an achievement speaking ability test and an achievement English vocabulary learning test. The data were analyzed using mean, standard deviation and compare English vocabulary posttest and English vocabulary retention after two weeks, using t-test. Research findings indicated that the effects of using songs and games on English speaking ability, achieved a higher score in the posttest than in the pretest significantly at the .05 level. And the effects of using songs and games on English vocabulary learning, achieved a higher score in the posttest than in the pretest significantly at the .05 levelen_US
dc.contributor.coadvisorอารีรักษ์ มีแจ้งth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163593.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons