Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรัสวดี เที่ยงวิบูลย์วงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศศิกานต์ หนูเอก, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-16T02:12:00Z-
dc.date.available2024-02-16T02:12:00Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11485-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ เวชระเบียนผู้ป่วยในของโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร ระหว่างปีงบประมาณ 2557-2560 รวม 176 ฉบับ พบอุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม 76 ฉบับ และไม่พบอุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม 100 ฉบับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม เป็นแบบเลือกตอบและเติมคำจำนวน 13 ข้อ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 1) ข้อมูลหอผู้ป่วย และ 2) ข้อมูลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการพลัดตกหกล้ม ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องของเนื้อหา เท่ากับ 1.00 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยที่มีอุบัติการณ์พลัดตกหกล้มเกินกว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 56.6) อยู่ในช่วงอายุมากกว่า 60 ปี เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 94.7) ไม่มีประวัติการพลัดตกหกล้มภายใน 1 ปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีภาวะโรคร่วม ได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม ร้อยละ 82.9 ช่วงเวลาที่เกิดการพลัดตกหกล้มสูงสุด คือ ช่วงเวรเช้า คิดเป็นร้อยละ 31.1 โดยร้อยละ 50 เกิดที่ข้างเตียง ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 48. 7) ไม่บาดเจ็บ แต่ต้องเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีภาวะโรคร่วมทางระบบประสาทและสมอง โรคร่วมทางระบบกระดูก และโรคร่วมทางระบบหัวใจและหลอดเลือด โดยผู้ป่วยที่มีโรคร่วมเหล่านี้มีโอกาสเกิดการพลัดตกหกล้มมากว่าผู้ป่วยที่ไม่มีโรคร่วม ถึง 2.61, 2.30 และ 0.50 เท่า ตามลำดับ (OR 2.61, 2.30, 0.50; p<0.05)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการหกล้มth_TH
dc.subjectการหกล้มในผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectผู้ป่วยใน--ไทย--กรุงเทพมหานครth_TH
dc.titleปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยใน โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe risk factors of fall of in-patients, a regional hospital in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis prediction research aims to investigate the factors affecting the incidence of fall of in-patients in a Regional Hospital in Bangkok Metropolis. The total of 176 in-patients’ medical records of a regional hospital during the fiscal year 2014 -2017 were recruited into the study. There were seventy-six incident reports of falls during admission, and one hundred were not found. The research instruments, developed by researcher based on literature review, was the factors influencing falls of in-patients records. The thirteen- item consisted of multiple choices and fill in the blank questions, consisting of 2 parts: 1) Ward information and 2) Patients information related to falls. Content validity was examined by 3 experts. The index of item-objective congruence was 1.00. Data were analyzed by descriptive statistics and logistic regression analysis. The results showed that almost half of the fallen patients (56.6%) were older than 60 years (94.7%). They had no fallen history within 1 year. Most of them reported co-morbid disease. 82.9 percent of the fallen patients received risk assessment for fall during admission. The highest occurrence of falls (31.1%) was morning shift. Half of them failed at the bedside. The majority of them reported closed observation without severe injuries. Co-morbidity of the patients including nervous system and brain, orthopedic and cerebrovascular disease showed statistically significantly predicted of fall. Patients with these co-morbidity tended to fall 2.61, 2.30 and 0.50 times more than those who without the diseases, respectively (OR 2.61, 2.30, 0.50; p <0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163609.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons