Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11513
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณภา ศรีมุกดา, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T08:21:03Z-
dc.date.available2024-02-19T08:21:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11513-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร (2) ศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร (3) ศึกษาระดับความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร และ (4) ศึกษาอิทธิพลของคุณภาพชีวิตในการทำงานและความสุขในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร จานวน 250 คน คานวณขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของยามาเน่ ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามคุณภาพชีวิตในการทางาน ความสุขในการทางาน และความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .95 .95 และ .86 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพชีวิตในการทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ความสุขในการทำงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (3) ความผูกพันต่อองค์การ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และ (4) คุณภาพชีวิตในการทำงานมีอิทธิพลต่อความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร ได้ร้อยละ 50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความสุขในการทำงานมีอิทธิพลต่อความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครได้ร้อยละ 58 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleอิทธิพลของคุณภาพชีวิตในการทำงานและความสุขในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeThe influence of quality of work life and happiness in work performance on commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization Personnelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to investigate the level of quality of work life of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel; (2) to investigate the level of happiness in work performance of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel; (3) to investigate the level of commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel; and (4) to investigate the influences of quality of work life and happiness in work performance on commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel. The research sample consisted of 250 randomly selected Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel. The sample size was determined based on Yamane’s method. The employed research instrument was a questionnaire dealing with quality of work life, happiness in work performance, and commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel, with reliability coefficients of .95, .95, and .86 respectively. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The research results showed that (1) the overall quality of work life of the personnel was at the high level; (2) the overall happiness in work performance of the personnel was at the high level; (3) the overall commitment of the personnel was at the high level; and (4) quality of work life had influence on commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel by 50 percent, which was significant at the .05 level of statistical significance; while happiness in work performance had influence on commitment of Sakon Nakhon Provincial Administrative Organization personnel by 58 percent, which was also significant at the .05 level of statistical significance; the results were in accordance with the formulated hypothesesen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons