Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริth_TH
dc.contributor.authorสุภาวดี ดับพันธ์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T02:30:31Z-
dc.date.available2024-02-20T02:30:31Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11523en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) คัดเลือกทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้า ในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 2) ศึกษาสภาพแวดล้อมของสวนทุเรียนพื้นเมืองในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต 3) ศึกษาลักษณะทางสัณฐานบางประการของทุเรียนพื้นเมืองในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ การจัดเก็บข้อมูลโดย 1) คัดเลือกทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้าจากสวนทุเรียนพื้นเมืองในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต โดยใช้แบบประเมินทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้า 2) สัมภาษณ์เจ้าของสวนทุเรียนพื้นเมืองที่ได้รับการคัดเลือกที่มีศักยภาพในเชิงการค้าเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของสวนทุเรียนพื้นเมือง 3) ศึกษาข้อมูลด้านสัณฐานบางประการของทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้าด้วยแบบบันทึก และ 4) สังเกตในภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณใช้การวิเคราะห์หาความถี่ ค่าร้อยละ ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) ทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้า ในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต มีจำนวน 20 ต้น 2) สภาพแวดล้อมของสวนทุเรียน พบว่า สภาพพื้นที่เป็นที่ลาดเชิงเขา ส่วนใหญ่ไม่มีแหล่งนํ้าภายในสวน เนื้อดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.0 อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 71-90 เปอร์เซ็นต์ 3) ลักษณะทางสัณฐานบางประการของทุเรียน พบว่า การเจริญเติบโตมีทั้งที่แผ่ขยาย และค่อนข้างตั้ง ทรงพุ่มไม่เป็นระเบียบ และทรงกลม เปลือกของลำต้นมีทั้งเรียบ แตกเป็นสะเก็ด และแตกเป็นเส้น เปลือกผลมีสีนํ้าตาล เขียว เขียวปนเหลือง รูปร่างของใบทรงรีกว้างและทรงรี สีของเนื้อผล มีสีนมข้นหวานและสีเหลือง รสชาติมีลักษณะโดดเด่น คือ หวานมัน กลมกล่อม (มีความมันมากเป็นพิเศษ) เนื้อหนาละเอียด กลิ่นอ่อนกว่าทุเรียนพื้นเมืองทั่วไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทุเรียน--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.titleการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาบางประการของทุเรียนพื้นเมืองที่มีศักยภาพในเชิงการค้าในตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeA study of some morphological characteristics of potential commercial indigenous Durian of Kamala Sub-district, Kathu District, Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to select indigenous durians with commercial potential in Kamala Sub-district, Kathu District, Phuket Province; 2) to study the environment of indigenous durian plantations in Kamala Sub-district, Kathu District, Phuket Province; and 3) to study some morphological characteristics of indigenous durians in Kamala Sub-district, Kathu District, Phuket Province. This study was a survey research. The data were collected by 1) indigenous durians with commercial potential were selected using an assessment form; 2) the durian farmers whose durians were selected as capable for commercial potential were interviewed about the production environments; 3) some morphological characteristics of the selected indigenous durians were collected with a data recording form; and 4) field observation. For data analysis, the quantitative data were analyzed by frequency, percentage, minimum-maximum, average and standard deviation. The qualitative data were analyzed by content analysis. The results found that 1) There were 20 varieties of durians that had commercial potential in Kamala Sub-district, Kathu District, Phuket Province. 2)The durian plantation environment was foothill slopes; most of the area had no water sources; soil texture was sandy loam, soil pH was 3.6-5.6; temperature was 20-30 °C and relative humidity was 71-90%. 3) Some morphological characteristics of the selected durians were: there were both types of tree growth as spread and erect, irregular and spherical canopy, bark of the trunks were smooth, splintered and breaking into lines, the bark colors were brown, green, and greenish yellow. The leaf shapes were broad and elliptic, and the colors of durian flesh were classified into cream and yellow. Most of the flavors were characterized as sweet, creamy, mellow (extra buttery), thick and finely textured and the odor was weaker than the typical native durian.en_US
dc.contributor.coadvisorวรรธนัย อ้นสำราญth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.45 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons