Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยฉัตร ล้อมชวการ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกมลรัฐ อินทรทัศน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนะชัย หนันแก้ว, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T02:59:42Z-
dc.date.available2024-02-20T02:59:42Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11527-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ นศ.ม.(การบูรณาการการสื่อสาร)--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรีเกี่ยวกับ 1) ความตั้งใจใช้บริการตามลักษณะประชากร 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารกับความตั้งใจใช้บริการ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยงกับความตั้งใจใช้บริการ และ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ถึงประโยชน์กับความตั้งใจใช้บริการ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือในจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 405 คน ได้จากตารางการกำหนดกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า 1) ความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภค แตกต่างกันตามลักษณะของประชากรคือเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และอาชีพ โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 2) การเปิดรับข่าวสารมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับต่ำมากกับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ผู้บริโภคที่มีการเปิดรับข่าวสารเพิ่มมากขึ้นจะทำให้ความตั้งใจใช้บริการเพิ่มขึ้นตามไปด้วย 3) การรับรู้ความเสี่ยงมีความสัมพันธ์ทางลบระดับต่ำมากกับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เมื่อผู้บริโภคมีการรับรู้ความเสี่ยงน้อยลงจะทำให้ความตั้งใจใช้บริการเพิ่มมากขึ้น และ 4) การรับรู้ถึงประโยชน์มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับความตั้งใจใช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 เมื่อทำให้ผู้บริโภคมีการรับรู้ถึงประโยชน์มากขึ้นจะทำให้มีความตั้งใจใช้บริการเพิ่มมากขึ้นด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารth_TH
dc.titleการเปิดรับข่าวสาร การรับรู้ความเสี่ยง และการรับรู้ถึงประโยชน์ที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativeHow exposure to news and awareness of risk and benefits affects Kanchanaburi Province consumers’ intentions to use online banking services via mobile phoneen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research on consumers’ use of mobile phone banking services in Kanchanaburi Province aimed to study: 1) the intention to use the services based on consumers’ demographics; 2) the relationship between exposure to news and intention to use the services; 3) the relationship between awareness of risks and intention to use the services; and 4) the relationship between awareness of benefits and intention to use the services. This was a quantitative research. The sample population was 405 mobile phone banking users in Kanchanaburi Province chosen through multi-level sampling. The sample size was determined using the Taro Yamane table at 95% confidence. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation, t test, ANOVA, and Pearson’s correlated coefficients. The results showed that 1) there were highly statistically significant (at level 0.01) differences in intention to use online banking services via mobile phone between consumers of different sexes, age groups, educational level, monthly income range, and occupation. 2) Exposure to news was positively related to intention to use online banking services via mobile phone at a low level, which was a highly statistically significant relationship (level 0.01). 3) Awareness of risks was negatively related to intention to use online banking services via mobile phone at a very low level, which was a statistically significant relationship (level 0.05). 4) Awareness of benefits was positively related to intention to use online banking services via mobile phone at a medium level, which was a highly statistically significant relationship (level 0.01).en_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163615.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons