กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11530
ชื่อเรื่อง: | ศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการตรากฎหมายใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Legal study on legislation of the law governing Electronic Bills of Lading in Thailand |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล สุรีพร ภาวสุทธิกุล, 2521- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา วิมาน กฤตพลวิมาน |
คำสำคัญ: | ใบตราส่ง |
วันที่เผยแพร่: | 2562 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การวิจัยเรื่องศึกษาวิเคราะห์แนวทางในการตรากฎหมายใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากฎหมายและระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการออกใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นกฎระเบียบข้อบังคับสากล 2) เพื่อศึกษากฎระเบียบข้อบังคับของประเทศไทย 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาทางกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการออกใบตราส่งในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 4) เพื่อเสนอแนวทางในการร่างกฎหมายใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า 1) กฎหมายเกี่ยวกับใบตราส่งของสากล มีบัญญัติใน Hague Rulcs, Haguc-Visby Rules และ Hamburg Rules กฎเกณฑ์เกี่ยวกับใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ มีปรากฏใน SEADOCS, CMI Rules for Electronic Bills of Lading และ Bolero Project 2) ประเทศไทยมีกฎหมายเกี่ยวกับใบตราส่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 แต่ประเทศไทยไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ 3) ใบตราส่งเป็นเอกสารที่ผู้ขนส่งของทางทะเลออกให้กับผู้ส่งของทางทะเล ซึ่งปกติอยู่ในรูปแบบ 4) การวิจัยนี้จึงเสนอแนวทางในการร่างกฎหมายใบตราส่งอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย เพื่อให้สอดรับกับมาตรฐานที่นานาชาตินำมาใช้และเป็นการนำกฎหมายในรูปแบบที่เป็นประโยชน์กับประเทศมาใช้บังคับในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11530 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Law-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
163623.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 60.88 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License