Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมานพ มนตรีพิทักษ์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T03:41:02Z-
dc.date.available2024-02-20T03:41:02Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11537-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.(การเมืองการปกครองท้องถิ่น))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาททางการเมืองของนายกเทศมนตรีตำบลบ้านเชียง ในการผลักดันวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นไทพวนบ้านเชียง ช่วง พ.ศ. 2555 – 2559 (2) ศึกษาปัจจัยที่สนับสนุนบทบาททางการเมืองของนายกเทศมนตรีตำบลบ้านเชียง (3) ศึกษาผลกระทบที่เกิดจากบทบาททางการเมืองของนายกเทศมนตรีตำบลบ้านเชียง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ประชากรการวิจัยในเขตพื้นที่เขตเทศบาลตำบลบ้านเชียง แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มผู้บริหารเทศบาลตำบลบ้านเชียง 5 คน (2) เจ้าหน้าที่ของรัฐ 5 คน (3) นักธุรกิจ 2 คน (4) กลุ่มอาชีพ 5 คน (5) นักวิชาการและสื่อมวลชน 2 คน รวมเป็นจำนวน 19 คน นำข้อมูลจากการสัมภาษณ์ที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแบบเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาททางเมืองของนายกเทศมนตรี ได้แก่ ด้านการกำหนดนโยบายจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นผ่านการจัดทำประชาคมร่วมกับชุมชน ด้านการบริหารจัดการจัดสรรทรัพยากรได้วางกลยุทธ์โครงการแผนงานที่เหมาะสมนำเสนอร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่มีอย่างจำกัด ด้านการเชื่อมประสานในฐานะตัวแทนขององค์กรดำเนินการตามแผนพัฒนาแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาอาชีพจากการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน (2) ปัจจัยภายนอกที่สนับสนุน มาจากรัฐธรรมนูญ 2540 กำหนดแผนขั้นตอนกระจายอำนาจแก่ท้องถิ่น แผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานีเน้นความเป็นศูนย์กลางลุ่มแม่น้ำโขง ปัจจัยภายในด้านตัวนายกเทศมนตรี จากฐานะทางสังคมกลุ่มทางการเมืองและเครือญาติ (3) ผลกระทบ แบ่งเป็น ด้านการเมืองการนานโยบายมาปฏิบัติเกิดการมีส่วนร่วมทางการเมือง เกิดความมีเสถียรภาพทางการเมืองของนายกเทศมนตรีโดยสภาทั้งสองเป็นกลุ่มทางการเมืองเดียวกัน เกิดการพึ่งพิงและระบบอุปถัมภ์จากตัวนายกเทศมนตรี ด้านสังคมเกิดกลุ่มใหม่ทางสังคมจากการจัดระเบียบทางสังคม เกิดความสามัคคีจากการมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมของเทศบาล การวิพากษ์วิจารณ์จากการใช้อำนาจทางการเมืองเกิดผลประโยชน์ต่างตอบแทน ผลกระทบต่อตัวนายกเทศมนตรี คือ การได้รับการสนับสนุนทางการเมืองจากความมุ่นมั่น ความเสียสละ จากความเชื่อมั่นในตนเองสูง การบริหารจัดการเน้นตัวบุคคล ส่งผลต่อการสนับสนุนทางการเมืองลดลงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนายกเทศมนตรี--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.titleบทบาททางการเมืองของนายกเทศมนตรีตำบลบ้านเชียง ในการผลักดันวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่นไทพวนบ้านเชียง อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ช่วง พ.ศ. 2555 - 2559th_TH
dc.title.alternativePolitical role of Ban Chiang Sub-district mayor in promoting a local culture of Tai Phuan Ban Chiang, Nong Han district, Udon Thani Province During 2012 to 2016en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the political role of Ban Chiang Sub-district mayor in promoting a local culture of Tai Phuan Ban Chiang during 2012 to 2016; (2) to identify factors that support the political role of the Ban Chiang Sub-district mayor; and (3) to study effects of political role on Ban Chiang Sub-district mayor. This research employed qualitative documentary method and structured interviews. There were 5 groups of purposive sampling which consisted of Ban Chiang Sub-District Municipality Administrator (5 samples), government official (5 samples), businessman (2 samples), various occupational class (5 samples) and academic/media (2 samples). There were 19 samples in total. Then, the data was analyzed by descriptive analysis. This study found that (1) the role of mayor consisted of policy for local development plan through the public participation with the community, resource allocation management that was suitable project strategy with limited annual budget. In addition, the mayor acts as a representative for an organization to implement the integrated development plan with other department and promoting career development through activities within the community. (2) Supporting external factor was 1997 Constitution of Thailand that stipulates a plan for the decentralization of local authority such as the Udon Thani Provincial Development plan that focus on Mekong River Basin. Internal factor was social and political status and kinship relation. (3) Political impact was an implementation of the policy resulting in political participation, political stability and patronage system by mayor. Social impact was a creation of new sociality originated by reform, social unity from municipal activities, criticism of political power and reciprocal benefits. The impact on the mayor was the political support from a commitment, a sacrifice, a high self-confidence, a person-centered management resulting in a deteriorating political supporten_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons