Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัญญา ปุณณวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorกรนิภา สุวรรณศักดิ์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-20T06:17:06Z-
dc.date.available2024-02-20T06:17:06Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11546en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างฐานความรู้ออนโทโลยีสำหรับโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (2) พัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังด้วยฐานความรู้ออนโทโลยี และ (3) ประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบสืบค้นข้อมูลด้วยฐานความรู้ออนโทโลยีสำหรับโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง งานวิจัยนี้นำเสนอแนวคิดในการออกแบบและสร้างออนโทโลยีจากการรวบรวมความรู้ในเรื่องของโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มาจากนักโภชนาการและเอกสารที่เกี่ยวข้องโดยใช้เทคโนโลยีออนโทโลยีสร้างเป็นฐานความรู้ซึ่งพัฒนาด้วยโปรแกรมโฮโซ ประกอบไปด้วยคลาสความรู้ที่รองรับการแนะนำรายการอาหารให้แก่ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรังตามหลักการการวิเคราะห์รายการอาหารของนักโภชนาการ ออนโทโลยีที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นใหม่มีการออกแบบคลาสและความสัมพันธ์ของคลาส เพื่อรองรับการสืบค้น จากนั้นผู้วิจัยได้ทำการพัฒนาเป็นระบบสืบค้นข้อมูลด้วยฐานความรู้ออนโทโลยีโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ผลลัพธ์ที่ได้เป็นข้อมูลแนะนำรายการอาหารจากการอนุมานความรู้ตามหลักการของนักโภชนาการและนำผลลัพธ์ไปประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบสืบค้น ด้วยการใช้ตัววัดมาตรฐานวัดค่าความแม่นยำ ค่าความระลึก ค่า F-measure และค่าทางสถิติสำหรับประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ผลการวิจัยพบว่า ค่าความแม่นยำ ค่าความระลึก และค่า F-measure อยู่ในระดับดีมาก การประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบสืบค้นในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (𝑋̅ = 4.21) แสดงได้ว่าระบบสืบค้นข้อมูลโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังด้วยออนโทโลยีเหมาะสำหรับให้ความรู้เรื่องโภชนาการผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วยได้เป็นอย่างดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ--โภชนาการth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูลโภชนาการของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังด้วยออนโทโลยีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of ontology-based patient diet search system for chronic kidney diseaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) build an ontology knowledge base of nutrition for patients with chronic kidney disease; (2) develop an ontology knowledge base search system of nutrition for patients with chronic kidney disease, and (3) evaluate the performance of an ontology knowledge base search system for nutrition in patients with chronic kidney disease. This researcher collected the nutrition knowledge in chronic kidney disease from nutritionists and related documents for chronic kidney disease patients. An ontology knowledge base was developed with the HOZO program. It comprised educational classes on suggested food items recommended by nutritionists for kidney disease patients. The researcher then created a search engine based on ontology knowledge of nutrition for kidney disease patients. The result were an informative food menu from inferential nutritional principles of nutritionists. The search engine evaluation was performed by using precision, recall, F-measure values, and statistics for user satisfaction. The results showed that precision, recall, and F-measure were in a very good level. The overall user satisfaction evaluation result was excellent (𝑋̅ = 4.21). This indicated that the ontology-based patient diet search system for chronic kidney disease was suitable for providing knowledge to the patients and their relatives who act as caregiversen_US
dc.contributor.coadvisorมารุต บูรณรัชth_TH
Appears in Collections:Science Tech - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม20.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons