Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทองth_TH
dc.contributor.authorยานี สังข์ศรีอินทร์, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-22T03:57:04Z-
dc.date.available2024-02-22T03:57:04Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11556en_US
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ศึกษาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบเสริมพลัง สาหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ และ 2) ประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ วิธีดาเนินการวิจัย แบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสารวจความต้องการจาเป็นในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของอาจารย์มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 189 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย แล้วนาผลมาร่างรูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และนาเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา 5 คน ประเมินคุณภาพ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามสภาพการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบบทดสอบแนวคิดการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และแบบประเมินรูปแบบ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัธยฐาน และดัชนีความต้องการจาเป็น และ ระยะที่ 2 การประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยนารูปแบบไปทดลองใช้กับอาจารย์มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 28 คน ได้มาโดยความสมัครใจ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบบวัดความรู้ความเข้าใจ แบบประเมินทักษะ และแบบประเมินคุณลักษณะส่วนบุคคล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการของรูปแบบ ประกอบด้วย ก) การพัฒนาสมรรถนะการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และ ข) การประเมินแบบเสริมพลัง (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เพื่อพัฒนาสมรรถนะการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ฯ (3) ระบบและกลไกของรูปแบบ ประกอบด้วย ก) การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข) การวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ค) การกาหนดหลักสูตรการฝึกอบรม/กิจกรรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะ และ ง) กระบวนการพัฒนาสมรรถนะ (4) วิธีดาเนินการของรูปแบบ ประกอบด้วย ก) วิเคราะห์พันธกิจ ข) เก็บรวบรวมข้อมูล และ ค) วางแผนสาหรับอนาคต และ (5) การประเมินผลรูปแบบ ประกอบด้วยการประเมินคุณภาพของรูปแบบด้านความเป็นไปได้ ความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ และความถูกต้อง และ 2) ผลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของอาจารย์ พบว่า อาจารย์มีความรู้ความเข้าใจ และมีคุณลักษณะส่วนบุคคลเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลังจากใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีทักษะการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับดีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษา--การประเมินth_TH
dc.subjectกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ--การประเมินth_TH
dc.subjectการประเมินผลทางการศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยประยุกต์ใช้การประเมินแบบเสริมพลังสำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeThe development of measurement and evaluation of competency according to Thai Qualifications Framework for Higher Education with application of the empowerment evaluation for instructors in Thailand National Sports Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameปรัชญาดุษฎีบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to 1) develop the model of competency measurement and evaluation development according to Thai Qualifications Framework for Higher Education with application of the empowerment evaluation for instructors in Thailand National Sports University and 2) assess the results of the development of competency measurement and evaluation according to Thai Qualifications Framework for Higher Education. The research was divided into 2 phases. Phase 1 was carried out to develop the model of competency measurement and evaluation development by reviewing related literature and surveying needs for competency development in measurement and evaluation of learning outcomes of Thailand National Sports University’s 189 instructors selected by using simple random sampling technique. The results were, then, used to draft the model of competency measurement and evaluation that was then given to 5 experts in measurement and evaluation requiring them to assess quality of research instruments that included a questionnaire on the condition of measuring and evaluating learning outcomes, a test on the concept of measuring and evaluating learning outcomes, a questionnaire on the needs for competency development in measurement and evaluation of learning outcomes, and a model evaluation form. Statistics used to analyze data included frequency, percentage, median and modified priority need index (PNIModified). Phase 2 was conducted to assess the results of the development of competency measurement and evaluation that was piloted, on a voluntary basis, with 28 instructors of Thailand National Sports University. The instruments comprised a model of competency measurement and evaluation, a cognitive assessment, a skills assessment, and a personality assessment. Data was analyzed through frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and content analysis. Findings revealed that 1) the model of competency measurement and evaluation development consisted of 5 components: (1) principles of model that comprised a) development of measurement and evaluation competency according to Thai Qualifications Framework for Higher Education, and b) empowerment evaluation, (2) purpose of the model of competency development in measurement and evaluation of learning outcomes, (3) system and mechanism of the model that comprised a) literature reviews related to measurement and evaluation of competency, b) problem analysis of measurement and evaluation competency, c) determination of training courses/activities to develop the competency, and d) competency development process, (4) model implementation that comprised a) analyzing mission, b ) collecting data, and c) planning for the future, and (5) model evaluation that comprised evaluation of model quality in terms of feasibility, suitability, usefulness and accuracy. 2) According to the effectiveness of the model, it was indicated that instructors’ knowledge and understanding, and personal attributes in measurement and evaluation of competency, affer applying the model, were statistically higher than those before applying the model at .01, and skills in measurement and evaluation of learning outcomes were at good level.en_US
dc.contributor.coadvisorสมคิด พรมจุ้ยth_TH
dc.contributor.coadvisorชนิตา ไกรเพชรth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167040.pdfเอกสารฉบับเต็ม38.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons