Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11557
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศศิธร กาญจนสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | อรัญญา พิสิษฐเกษม, 2508- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-22T04:02:29Z | - |
dc.date.available | 2024-02-22T04:02:29Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11557 | en_US |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. (ศึกษาศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและประเมินประสิทธิผลของรูปแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพอาจารย์สาขาวิชาด้านธุรกิจการบินในสถาบันอุดมศึกษาการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระะ โดยระยะ 1 พัฒนารูปแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพอาจารย์สาขาวิชาด้านธุรกิจการบินในสถาบันอุดมศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ 1) ร่างรูปแบบประเมินโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญจำนวน 8 คน เครื่องมือการวิจัยเป็น ประเด็นคำถามสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูล โคยหาความถี่ และวิเคราะห์เนื้อหา 2) ตรวจสอบคุณภาพรูปแบบประเมิน โดยวิธีการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญจำนวน 7 คน เครื่องมือการวิจัย มีดังนี้ (1) ประเด็นคำถามสำหรับการจัดสนทนากลุ่ม (2) แบบประเมินคุณภาพรูปแบบประเมินตามมาตรฐานการประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 2 ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบประเมิน โดยทดลองใช้รูปแบบประเมินกับสถาบันอุดมศึกษาที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาด้านธุรกิจการบิน จำนวน 1 แห่ง เป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษา ผู้ทคลองใช้คือ คณบดี รองคณบดี หัวหน้าสาขาวิชา อาจารย์ จำนวน 11 คน และนักศึกษา จำนวน 166 คน เครื่องมือการวิจัยมีดังนี้ (1) รูปแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพอาจารย์สาขาวิชาด้านธุรกิจการบินในสถาบันอุดมศึกษา (2) คู่มือประเมิน และ (3) ประเด็นคำถามสำหรับการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับประสิทธิผลของรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดั่งนี้ 1) รูปแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพอาจารย์สาขาวิชาด้านธุรกิจการบิน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ (1) เป้าหมายของการประเมิน (2) มาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพ (3) วิธีประเมินและเครื่องมือ และ (4) การให้ข้อมูลย้อนกลับ รูปแบบประเมินมีมาตรฐานด้านความเป็นไปได้ มาตรฐานด้านความเป็นประโยชน์ และมาตรฐานด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีมาตรฐานด้านความถูกต้องอยู่ในระดับมาก และ2) ประสิทธิผลของรูปแบบประเมิน พบว่า (1) รูปแบบประเมินมีประสิทธิผลด้านความเป็นประ โยชน์ สามารถสะท้อนแนวทางการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ แนวทางการสนับสนุนอาจารย์ ผลการประเมินสามารถนำมาใช้ต่อยอดงานด้านอื่น ๆ มีการรายงานผลการประเมินไปยังผู้เกี่ยวข้องกับการประเมินอย่างทั่วถึง (2) ผลการประเมินมีความตรงเชิงประจักษ์ และ (3) ผู้ทดลองใช้รูปแบบประเมินมีความพึงพอใจต่อรูปแบบประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การบิน--หลักสูตร | th_TH |
dc.subject | อาจารย์มหาวิทยาลัย--การประเมินความสามารถ | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบประเมินมาตรฐานสมรรถนะวิชาชีพอาจารย์สาขาวิชาด้านธุรกิจการบินในสถาบันอุดมศึกษา | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an evaluation model for professional competency standard of lecturer in aviation business program under higher education institution | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to develop and evaluate the effectiveness of the evaluation model for the professional competency standard of lecturers in the aviation business program under the higher education institution. The research operation was divided into 2 phases. Phase 1 was to develop the evaluation model for professional competency standard of lecturers in the aviation business program under higher education institution. There are steps as follows: 1) Draft an evaluation model using in-depth interview with 8 experts. The research tool is an in-depth interview question and data was analyzed through frequency and content analysis. 2) Examine the preliminary quality of the evaluation model through the focus group technique with 7 experts. The research tools were as follows: (1) The questions for the focus group; (2) The evaluation form of the evaluation model according to the assessment standards. Data was analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Phase 2 was to assess the effectiveness of the evaluation model that was experimented in a higher education institution that provides teaching and learning in the aviation business program for one semester. The participants included the-Dean, Associate Dean, Head of Department, and teachers, a total of 11 and 166 students. The research tools included: 1) The evaluation model for the professional competency standard of lecturer in aviation business program under higher education institution. 2) Assessment guide, and 3) The questions for an in-depth interview on the effectiveness of the model. Data were analyzed through frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The findings indicated that: 1) The evaluation model for the professional competency standard of lecturers in the aviation business programs consists of 4 components: (1) assessment goals (2) professional competency standards (3) assessment methods and tools, and (4) feedback. The evaluation model was rated against the utility standard, feasibility standard, and propriety standard and the ratings were at the highest level, while the-accuracy standard was rated at a high level, 2) The evaluation of the effectiveness of the evaluation model revealed that (1) the evaluation model was effective in terms of utility can provide the development guidelines for professional competence, the guidelines for supporting lecturers, the assessment results provide more information for further work in other areas, a comprehensively reported the assessment results, (2) the assessment results were empirically validity, and (3) the participants were satisfied with the evaluation model at the highest level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมคิด พรมจุ้ย | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ภาสกร จันทน์พยอม | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168826.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 23.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License