Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11583
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนูญ โต๊ะยามา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริพร สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฬารัตน์ ปิ่นทำนัก, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-23T03:53:58Z-
dc.date.available2024-02-23T03:53:58Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11583-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม. (เศรษฐศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ (1) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ของบุคคลที่ศึกษาภาษาอังกฤษในโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษเอกชนในกรุงเทพมหานคร (2) เพื่อเสนอแนวทางในการใช้ประโยชน์สำหรับการบริหารและจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษาในโรงเรียนภาษาอังกฤษเอกชนในกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพโดยใช้วิธีทางเศรษฐศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้เป็นผู้เรียนที่กำลังศึกษาในโรงเรียนภาษาอังกฤษเอกชนในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 597 ตัวอย่าง จากโรงเรียน 20 แห่ง ด้วยวิธีการสุ่มสิ่งตัวอย่างแบบแบ่งชั้นแบบง่ายโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การวิเคราะห์เชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้แบบจำลองความถดถอยโลจิสติก แบบ Binary ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดอุปสงค์ต่อการศึกษาภาษาอังกฤษในโรงเรียนภาษาอังกฤษเอกชน ได้แก่ ปัจจัยอายุ รายได้ ค่าเล่าเรียน อาชีพ ระยะเวลาเรียนต่อหลักสูตร และเวลาที่ใช้ในการเดินทางจากบ้านไปสถานศึกษา ผลการศึกษาเชิงพรรณนาพบว่า ปัจจัยที่มีความสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจ ต่อผู้เรียนภาษาอังกฤษที่กำลังศึกษาอยู่และผู้เรียนที่ทำงานแล้ว ได้แก่ ความต้องการมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ความชำนาญในการสอนและความเอาใจใส่ของผู้สอน ความมีชื่อเสียงของสถานศึกษา ความมีประสิทธิผลของหลักสูตร(จบแล้วนำไปปฏิบัติได้จริง) การจัดตารางเรียน วัน เวลาที่เหมาะสมของสถานศึกษา ความเหมาะสมของค่าเล่าเรียนกับเนื้อหาของหลักสูตรที่ทางโรงเรียนจัดสอน ระยะเวลารอการเปิดเรียนของหลักสูตรที่ลงทะเบียน การจัดระดับการเรียนที่เหมาะสมให้กับผู้เรียนโดยการทดสอบก่อนเรียน และเฉพาะกรณีของผู้เรียนที่กำลังศึกษาอยู่ ได้แก่ บิดามารดาและญาติพี่น้องให้การสนับสนุน ความต้องการเรียนเสริมหลักสูตรของสถานศึกษาหรือเสริมการทำงานของบริษัทที่ทำงานอยู่ ฐานะทางเศรษฐกิจเอื้ออำนวย รายการส่งเสริมการขายและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางโรงเรียนจัดเสริมให้กับผู้เรียน ซึ่งผลการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและเชิงพรรณนาสามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารและการจัดการทรัพยากรของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพต่อไปได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectโรงเรียนภาษาอังกฤษเอกชนth_TH
dc.subjectโรงเรียนคาทอลิก--ครูth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์การศึกษาภาษาอังกฤษในโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษเอกชนในกรุงเทพมหานคth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing demands for studying English in private English language schools in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe two main objectives of this study were 1) to analyze factors influencing students' demand to attend English language courses, and 2) to study guidelines for using economic instruments to improve the administrative and management efficiency. This study was conducted in a form of a survey. The subjects were students attending courses in English language schools in Bangkok. A total of 597 students were selected from 20 schools by means of stratified simple random sampling and questionnaires were used as a tool for the collection of data. Data analysis was used for descriptive analysis and quantitative analysis. Quantitative analysis was conducted by using the SPSS program to run the Binary Logistic Regression Analysis. The result from quantitative analysis found that factors influencing demand for attending courses in English language schools were age, income, course fee, occupations, duration of the course, and time spent on traveling from home to the institutes. The results from descriptive analysis found that important decision making factors for people studying English, both regular students and employees, include the need to use the English language, making use of free time, the experience and attentiveness of instructors, the reputation of the institutes, effectiveness of the courses, suitable schedule of the institutes, reasonable course fees and contents, waiting time to apply to the courses, and appropriate classes arranged after preliminary testing . Especially for regular students who are supported by parents and relatives, additional studying of English to help supplement regular curricular study or for usage in the workplace, affordability of courses, taking advantage of special marketing and promotional offers, and activities provided by the schools. It is the expectation that the results from this study can be used to improve management administration efficiency, as well as resource utilization of the institutes.en_US
Appears in Collections:Econ-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77532.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons